DuPont Nutrition & Health Creates ‘Clean Label Hub’, Expands R&D Team

DuPont Clean label hub news release

 

Strengthened Organization Will Focus on R&D Project Pipeline Growth
in Ingredient and Process Development

Brabrand, DENMARK, August 29, 2018

DuPont Nutrition & Health today announced it is expanding its R&D team by creating a “clean label hub” at the Brabrand facility. Intending to boost its project pipeline in healthy nutrition and clean label texturant offerings, six new employees will join the existing team to focus on both ingredient and process development.

The hub will feature experts with backgrounds in clean label and sustainability – two fields that often work together and serve related purposes. Working closely with existing project teams, the hub will bring products to market quickly and help grow the existing project pipeline.

“Clean label is about creating foods and beverages with ingredients that consumers recognize, feel good about putting into their bodies, and that respect the Earth and its resources,” said Gerard Lynch, R&D Leader, Systems & Texturants, Emulsifiers & Sweeteners. “Our ingredients are already used in many applications that consumers consider clean label, but there are tremendous opportunities to innovate – creating ingredients that are even more sustainable, using a larger part of the natural raw materials, while providing health benefits to consumers. Committing to this innovation is critical for our ongoing success and growth.”

With the ability to utilize the broadest capabilities in terms of natural raw materials access, processing, across fruits, vegetables, seaweeds and nutritional science, DuPont Nutrition & Health has huge potential to develop functional ingredients that meet consumer expectations.

The hub will help customers continue to navigate clean label trends in a proactive and sustainable way. DuPont Nutrition & Health is seeking creative scientists and engineers to identify ways to convert sustainable and natural raw materials into clean label solutions that meet consumer demands for simplicity and authenticity, all without compromising taste, texture and nutritional qualities.
Planned to be in place by early 2019, the clean label texturants team will have the opportunity to tackle exciting projects to provide texture and stability for multiple food applications.

“We are excited to launch this hub and put additional team members into place that will help us advance our innovation strategy to support our customers,” said Mikkel Thrane, Global Sustainability Lead, DuPont Nutrition & Health. “This hub will enable us to continue integrating sustainability and the UN Sustainable Development Goals into our work, and the investment we are making will help us develop healthier, more nutritious and sustainable ingredients for our food supply.”

To learn more about DuPont Nutrition & Health, visit www.food.dupont.com.

เบทาโกร จับมือ ศธ. มท.และ 11 สถาบันอุดมศึกษา ขยายผลโมเดล HAB ยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตชุมชน

กรุงเทพฯ, สิงหาคม 2561 – นายวนัส แต้ไพสิฐพงษ์ ประธานคณะกรรมการบริหาร เครือเบทาโกร (ที่ 6 จากซ้าย) ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองค์รวม (Holistic Area Based Community Development; HAB) 5 ด้าน เศรษฐกิจ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม สังคม และการศึกษา ผ่านเครือข่ายปฏิบัติการทางสังคม กับสถาบันอุดมศึกษา 11 แห่ง สร้างชุมชนต้นแบบที่มีคุณภาพชีวิตดี 17 พื้นที่ ใน 12 จังหวัด โดยมี ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ที่ 8 จากขวา) เป็นประธาน และนายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงมหาดไทย (ที่ 7 จากขวา) ให้เกียรติร่วมในพิธี ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล อาคารรัชมังคลาภิเษก กระทรวงศึกษาธิการ

สำหรับ 11 สถาบันอุดมศึกษา ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลพบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Vicchi Enterprise: Food Ingredient Innovator One Stop Service Provider from Farm to Food

 

Full article TH-EN

โลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา นั่นเป็นความท้าทายของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม…ถึงเวลาที่ผู้ประกอบการต้องรับมือและปรับตัว นำ “นวัตกรรม” มาเป็นอาวุธสำคัญเพื่อเพิ่มอำนาจการแข่งขัน ดังเช่น บริษัท วิคกี้ เอนเตอร์ไพรซ์ จำกัด ที่ให้ความสำคัญและให้คุณค่ากับ “นวัตกรรม” ตลอดทั้งซัพพลายเชน

เพิ่มขีดความสามารถด้วยนวัตกรรม
“วิสัยทัศน์ของ วิคกี้ เอนเตอร์ไพรซ์ คือ เป็นผู้นำเสนอนวัตกรรมของวัตถุดิบและส่วนผสมให้กับอุตสาหกรรมอาหาร หรือ Food Ingredient Innovator เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับลูกค้า และสร้างเครือข่ายที่แน่นแฟ้นระหว่างซัพพลายเออร์ ลูกค้า และผู้บริโภค” คุณวิสูตร วิสุทธิไกรสีห์ ประธาน บริษัท วิคกี้ เอนเตอร์ไพรซ์ จำกัด กล่าว พร้อมเสริมว่า บริษัทฯ นำเข้าสินค้าที่มีคุณภาพและนวัตกรรมจากยุโรป สหรัฐอเมริกา และเอเชีย เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าตลอดทั้งซัพพลายเชน

วิคกี้ เอนเตอร์ไพรซ์ ให้ความสำคัญกับนวัตกรรม 3 ด้าน คือ นวัตกรรมด้านการผลิต นวัตกรรมด้านการจัดการ และนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ โดยคำนึงถึงต้นทุนและคุณภาพเป็นสำคัญ

The world is continuously changing, which is one big challenge facing food and beverage industries. Business operators have to ready themselves to cope with this ever-changing world by adopting “innovative approaches” as their main ammunition in increasing one’s competitiveness. Vicchi Enterprise appreciates and values the importance of “innovations” throughout the supply chain.

Boosting Capability with Innovations
“Vicchi Enterprise’s vision is to become a Food Ingredient Innovator who provides food industry with innovative raw materials and ingredients, to assist our clients to expand their capabilities and competitiveness, and to build ever-firmer connections amongst suppliers, customers and consumers,” said Mr.Visutr Visuthikraisee, President, Vicchi Enterprise. He also added that the company only imports finest and innovative products from Europe, USA and Asia, to meet the customers’ needs throughout the supply chain.

Three main innovation focuses of Vicchi Enterprise are production innovation, management innovation, and product innovation, with cost effectiveness and product quality at the top of the list.

Post Show -Food Focus Thailand Roadshow # 4 at Chon Buri

Full article TH-EN

Food Focus Thailand Roadshow # 4 ต้อนรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มในภาคตะวันออก ด้วยการบรรยายเรื่อง “เทรนด์พฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีผลต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม” และหัวข้อ “แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มเพื่อตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคในปัจจุบัน” โดยได้รับเกียรติจากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเชษฐ์ สมุหเสนีโต หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และหัวข้อ “Food Defense: การปกป้องสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร” โดยคุณธวัฒน์ชัย ขำวิจิตราภรณ์ ที่ปรึกษา บริษัท เอ็มที โอเปอเรชั่น จำกัด นอกจากนี้ยังได้พบกับความหลากหลายของสินค้าที่นำมาจัดแสดงและร่วมสนุกกับกิจกรรมและของรางวัลต่างๆ ภายในงาน

ปริมาณของการเติบโตผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มกลุ่ม RTD ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
สำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มกลุ่ม RTD ทั้งหมดมีปริมาณของการเติบโตสูงถึง 79.4 พันล้านลิตรในช่วงปี 2557-2562 ส่งผลให้ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะมีสัดส่วนการเติบโตเกือบถึงหนึ่งในสามของปริมาณเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ภายในปี 2562 โดยจีนและอินเดียมีปริมาณของการเติบโตรวมกันที่ร้อยละ 20 ของปริมาณเครื่องดื่ม RTD ทั่วโลก อย่างไรก็ตาม ประเทศในกลุ่มเอเชียแปซิฟิกอย่างบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมา ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม ไม่ควรนิ่งนอนใจ โดยประเทศเหล่านี้มีปริมาณของการเติบโตคิดเป็นร้อยละ 25 และมีโอกาสเติบโตได้ถึง 15.4 พันล้านลิตรในช่วงปี 2557-2562 ในด้านการเติบโตทางเศรษฐกิจและความต้องการของผู้บริโภคในกลุ่มเครื่องดื่มประเภทดังกล่าวมีผลทำให้ภูมิภาคนี้มีความน่าสนใจในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ อย่างไรก็ตาม ความต้องการของผู้บริโภคนั้นก็ยังมีความหลากหลายแตกต่างกันซึ่งส่งผลให้ต้องมีแนวทางการตลาดที่แตกต่างกันไป รวมถึงความสามารถในการซื้อของผู้บริโภคและประเด็นด้านราคาก็ยังคงเป็นสิ่งที่ควรนำมาประกอบการพิจารณาด้วย

In our Food Focus Thailand Roadshow # 4, food and beverage entrepreneurs of the Eastern Thailand were welcomed to attend the seminars “How Consumer Behavior Trends Influences F&B Product Development” and “The Process of New Product Development Based on Consumer Needs and by Satisfying their Expectations” hosted by Assistant Professor Suched Samuhasaneetoo, Ph.D. Heads of Department of Food Technology, Faculty of Engineering and Industrial Technology, Silpakorn University and “Food Defense Plan in Food Industry” by Mr.Tawatchai Khamvijitraporn, Consultant, MT Operation Co., Ltd. Moreover, they also had a chance to check out various products showcased in the event, participate in activities and win the prize.

Asia Pacific’s Soft Drinks RTD Volume
With total RTD volume growth of 79.4 billion litres over 2014-2019, Asia Pacific will account for nearly one third of the world’s soft drinks volumes by 2019. China and India will combine for 20% of this global figure. However, countries like Brunei, Cambodia, Indonesia, Laos, Malaysia, Myanmar, the Philippines, Singapore, Thailand and Vietnam, should not be ignored. These nations currently for 25% of Asia Pacific’s soft drinks RTD volume and will grow by 15.4 billion litres over 2014-2019. Economic growth and rising consumer demands for the convenience and quality of packaged beverages make these countries an attractive region for soft drinks manufacturers, but varying consumer preferences require a tailored approach. Affordability and price sensitivity remain a major consideration.

Improved Weighing Accuracy…A Piece of Cake

ปรับปรุงประสิทธิภาพการชั่งน้ำหนัก…เรื่องง่ายนิดเดียว

By: Mettler-Toledo (Thailand) Limited

Full article TH-EN

การชั่งนำหนักอย่างถูกต้องในขั้นตอนการพัฒนาสูตรนั้นมีความสำคัญอย่ายิ่ง ซึ่งปัจจุบันมีการคิดค้นและพัฒนาเครื่องชั่งแบบแม่นยำใหม่1 ออกสู่ตลาดเพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและผู้ผลิตอาหารสามารถจัดการงานได้ง่ายขึ้นตั้งแต่ต้น

ในการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ให้โดนใจตลาด อุตสาหกรรมอาหารต้องทุ่มเทเวลามากมายให้กับการพัฒนาสูตร ซึ่งต้องมีการผสมส่วนผสมในสัดส่วนที่ถูกต้อง อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์ที่ประสบความสำเร็จได้นั้นมักเป็นผลมาจากการลองผิดลองถูก การปรับส่วนประกอบนิดๆหน่อยๆ หรือการเพิ่มหรือลดส่วนผสมที่ดูเหมือนจะไม่ใช่เพียงนิดเดียวก็อาจจะสามารถส่งผลต่อประสบการณ์ในการรับรสได้ นอกจากนี้ การมีรายการส่วนผสมที่ยาวเหยียดก็มักสร้างความท้าทายในการผสมสูตรให้มีความถูกต้องแม่นยำ และใช้เวลามากทีเดียว

มั่นใจความแม่นยำ
โชคดีที่คุณสามารถมีการดำเนินการเพื่อช่วยให้มั่นใจได้ถึงกระบวนการชั่งน้ำหนักในการผสมสูตรอาหารได้อย่างถูกต้อง เครื่องชั่งแบบแม่นยำใหม่1 ช่วยให้มีการผสมสูตรอย่างถูกต้องเพราะมีจานชั่งนำหนักนวัตกรรม2 ที่สามารถช่วยลดแรงลมบนเซลล์ชั่งน้ำหนัก ซึ่งช่วยให้ได้ผลการช่างในเวลาเพียงครึ่งหนึ่งของเครื่องชั่งมาตรฐานทั่วไปแม้อยู่ในสภาพแวดล้อมการผลิตหรือในพื้นที่ที่มีการผลิตจำนวนมาก

 

Accurate weighing is critical to recipe development. Discover how the new precision balances1 developed for today tasks can support weighing and food-manufacturing processes – from scratch.

To make delicious new products, the food industry devotes substantial time to recipe development. This requires that ingredients be combined in correct proportions. However, a successful food product is typically the result of trial and error. A slight tweak of any component, or the addition or subtraction of a seemingly insignificant ingredient, can affect the sensory experience. In addition, long lists of ingredients often make precise formulation challenging and time-consuming.

Ensure weighing accuracy
Fortunately, you can take steps to help ensure accuracy for weighing processes used in food formulation. the new precision balances1 help with accurate formulation thanks to features such as an innovative weighing pan2. This pan minimizes air-current effects on the weighing cell, delivering results in half the time of a standard balance – even in a production environment or high-traffic area.

DATA Integrity: The New Norm

DATA Integrity: เทรนด์ใหม่ที่กำลังมา

By: Sahas Ratanasoponchai
Assistant Vice President: Hygiene Business
Betagro Group
sahas@betagro.com

Full article TH-EN

ในวงการอุตสาหกรรมอาหารทั่วไป รวมทั้งข้อกำหนดต่างๆ ที่มาจากมาตรฐานสากลหรือจากลูกค้า ที่ผ่านมาจะพูดถึงระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) เพื่อให้รู้ถึงแหล่งที่มาที่ไปของสินค้าว่ามาจากแหล่งผลิตใด ใครเป็นผู้ผลิต ยิ่งในวงการอุตสาหกรรมกุ้งหรือการแปรรูปไก่ที่ส่งออกไปสหภาพยุโรปส่วนใหญ่จะถูกตั้งเป็นข้อบังคับเสียด้วยซ้ำไป และในวงการเองต่างก็ปรับตัวให้เข้ากับกฎเกณฑ์ได้เป็นอย่างดี แต่ปัจจุบันกำลังมีอีกหนึ่งบริบทที่กำลังเป็นแนวโน้ม นั่นคือ Data Integrity

Data Integrity หากแปลตรงๆ จะได้ความหมายว่า ความคงสภาพของข้อมูล หรือความสมบูรณ์ถูกต้อง สอดคล้อง และเที่ยงตรงของข้อมูล นั่นเพราะปัจจุบันมีข้อมูลในระบบการผลิตมากมายที่เกี่ยวข้องกับหลายๆ หน่วยงาน ข้อมูลเหล่านี้มีการจัดเก็บเป็นระบบมากขึ้นอยู่ในคอมพิวเตอร์ มีความซับซ้อนมากขึ้น แต่จะทำอย่างไรให้ลูกค้าหรือตัวเราเองมั่นใจว่าข้อมูลนี้แม่นยำ ถูกต้อง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยพลการ หรือหากมีเกิดขึ้นจะมีระบบจัดการอย่างไรให้มั่นใจว่าเมื่อผ่านพ้นไปนานวันเข้า ข้อมูลเหล่านี้มีความน่าเชื่อถือ ไว้ใจได้ และแน่นอนว่ามีประโยชน์ต่อระบบการตรวจสอบทั้งปวง มิใช่แค่การตรวจสอบย้อนกลับอีกต่อไป

In food industry, as well as in requirements and specifications stipulated by international standards of quality, or in customers’ requests, there has been a lot of mentioning about traceability. The concept wraps around the ability for the public to access products’ information concerning their sources and manufacturers. Especially in some exporting industries, such as processed shrimp and processed chicken to the EU countries, traceability is not just an option but has become a must. Manufacturers have now adapted themselves to this new regulation. However, there is now a new norm in the industry: Data Integrity.

Data Integrity is the constancy of data, as well as the precision, consistency and accuracy of all data involved. Data integrity has gained its importance due to the great volume of manufacturing data that involve many divisions throughout production processes. These data are systematically computerized and stored in great details. But how to ascertain both customers and manufacturers that these data are precise, accurate and untampered with– what are the pre-determined approaches when dealing with a case of unauthorized changes to the data. It is important to make sure that in a long run, these data still remain accurate and credible–not just for the traceability purpose, but for the whole auditing process.

Thai Consumers are on the Road to Self-betterment 79% of Thais would like to have a Healthier Diet in 2018

เทรนด์สุขภาพยังแรงต่อเนื่อง
79% ของคนไทยตั้งเป้า “ชีวิตดีมีสุข”

By: Delon Wang, Trends Manager, Asia Pacific
Jane Barnett, Head of Insights – South APAC
Suddhanya Yupho, Insight Analyst, Thailand
Mintel

Full article TH-EN

 

ผู้บริโภคชาวไทยกำลังมองหาวิธีที่จะปฏิวัติตนเองให้ดีกว่าเก่า งานวิจัยล่าสุดระบุว่า ผู้บริโภค 4 ใน 5 หรือประมาณร้อยละ 79 ต้องการมีโภชนาการที่ดีขึ้นในปี 2561 ในขณะที่ 3 ใน 4 หรือประมาณร้อยละ 76 ระบุอยากมีชีวิตสมดุล และร้อยละ 73 จะหันมาออกกำลังกายให้มากขึ้น

จากรายได้ที่เพิ่มขึ้นและการขยายตัวของเมือง ทำให้ผู้บริโภคในประเทศไทยเริ่มหันมาใส่ใจสุขภาพของตนเองกันมากขึ้น และนั่นส่งผลให้กระแสการเป็นตัวเองที่ดีกว่าเดิมกำลังมาแรง ทั้งในเชิงสุขภาวะ ร่างกาย อารมณ์ และสุขภาพจิตใจ ผู้บริโภคชาวไทยไม่เพียงแต่หันหลังให้พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ในอดีต แต่กลับเริ่มหันมาใส่ใจในเรื่องของการบริโภค และตระหนักอย่างแท้จริงถึงสิ่งที่กำลังจะรับประทานเข้าไป งานวิจัยพบว่า การออกแบบสินค้าหรือบริการเฉพาะบุคคลจะเป็นกุญแจสำคัญในการบริโภค และยังนำมาซึ่งความรู้สึกนึกคิดเชิงบวกต่อชีวิตประจำวัน เช่นเดียวกัน สินค้าประเภทที่ออกแบบมาเฉพาะบุคคลสามารถเป็นสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

Thai consumers, today, are looking for ways to fulfil their desires to better themselves. Latest findings reveal that as many as four in five (79%) metro Thai consumers would like to have a healthier diet in 2018, while just over three in four (76%) would like to have a better work-life balance and 73% to exercise more.

Amidst rising income and rapid urbanisation, consumers in Thailand are embracing the benefits of personal wellness, and, as a result, are increasing their efforts towards self-betterment—be it physically, mentally or emotionally. Thai consumers are not only cutting back on their bad habits, but also paying more attention to what they are consuming. The research indicates that customisation can be a key player in consumers’ pursuit of bringing positivity into their daily lives. As well, instances of customisation can be introduced in everyday products.

Gluten-free food products…A chance of Thai rice in food industry

โอกาสของข้าวไทยในอุตสาหกรรมอาหารจากผลิตภัณฑ์อาหารปลอดกลูเตน

ผศ.จิราภรณ์ สิริสัณห์
Assistant Professor Jiraporn Sirison
King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang

Full article TH-EN

ปัจจุบันหลายคนน่าจะคุ้นเคยกับคำว่า “อาหารปราศจากกลูเตน” หรือ “อาหารไม่มีกลูเตน” หรือ “อาหารปลอดกลูเตน“ หรือ “Gluten free food product” บางคนอาจเคยมีอาการแพ้กลูเตนจากการรับประทานอาหารที่มีกลูเตนเป็นส่วนประกอบ กลูเตน (Gluten) เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่มีในธัญพืชบางชนิด เช่น ข้าวสาลี ข้าวไรน์ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต เป็นต้น กลูเตนเป็นสารก่อภูมิแพ้ที่เมื่อผู้บริโภคบางคนได้รับจากการรับประทานอาหารแล้วเกิดอาการผิดปกติ อาการแพ้กลูเตน (Gluten intolerance) เกิดจากลำไส้เล็กย่อยและดูดซึมกลูเตนไม่ได้ อาการที่พบเช่น ท้องอืด มีก๊าซในกระเพาะอาหาร ท้องเสีย แขนและขาชา เป็นต้น ร่างกายบางคนไวต่อการได้รับกลูเตนอย่างมาก (Gluten hypersensitivity) อาจทำให้ระบบการย่อยอาหารผิดปกติมากและทำให้เป็นโรค Celiac disease ด้วย ทั้งนี้อาการแพ้โปรตีนกลูเตนของแต่ละคนแตกต่างกันและไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ซึ่งปัจจุบันพบผู้ที่มีอาการแพ้กลูเตนเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา สหภาพยุโรป ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
ในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป มีการใช้ธัญพืชที่มีกลูเตนเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารหลายชนิดเช่น เบเกอรี่ อาหารเช้าที่ทำจากธัญพืช เครื่องดื่ม ขนมขบเคี้ยว เป็นต้น ดังนั้นผู้ที่แพ้กลูเตนจึงมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับกลูเตนจากการรับประทานอาหารแปรรูปที่จำหน่ายทั่วไป โคเด็กซ์และประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฮ่องกง ไทย เป็นต้น บังคับให้ผู้ผลิตที่ใช้ธัญพืชที่มีกลูเตนเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารต้องแสดงข้อความบนฉลากให้ผู้บริโภคทราบด้วยว่ามีธัญพืชที่มีกลูเตนเป็นส่วนประกอบของอาหารหรืออาจมีการปนเปื้อนธัญพืชที่มีกลูเตนในกระบวนการผลิตเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และปัจจุบันมีการผลิตและจำหน่ายอาหารปลอดกลูเตนที่ใช้แป้งจากพืชชนิดอื่นๆ เช่น ข้าวโพด ข้าวเจ้า ถั่วเหลือง มันฝรั่ง ควินัว เป็นต้น มาเป็นวัตถุดิบแทนการใช้แป้งจากธัญพืชที่มีกลูเตนเพื่อเพิ่มทางเลือกให้ผู้บริโภคที่แพ้กลูเตน

 

Nowadays, the word “gluten-free food products” is nothing new to many people, while some may have even experienced the illness from consuming food containing gluten already. Gluten is a protein found in certain grains such as wheat, rye, barley, and oats, and it is an allergen which causes abnormal symptoms in some consumers. Gluten intolerance is caused by the inability of small intestine to absorb gluten causing some symptoms such as flatulence, bloat, diarrhea, limbs anaesthetize. In some cases, hypersensitive consumers may suffer from abnormal digestion and celiac disease. Nonetheless, gluten intolerance is subjective and not related to body’s immune system. Currently, numbers of gluten intolerance consumers are increasing, especially in the United States, Canada, the European Union, Australia, and New Zealand.
In the food processing industries, gluten grains are used as ingredients for various kinds of food, for instance, bakery, cereals, beverages, and snacks. Therefore, gluten-sensitive consumers are at high risks from receiving gluten from processed food selling in the market. Codex and many countries like the United States, the European Union, Canada, Australia, New Zealand, Japan, South Korea, Hong Kong, and Thailand, regulate food producers to show label indicating the use of gluten grains or contamination of gluten grains on its food to protect consumers. Nowadays, the production and sale of gluten-free foods, which replace gluten grains with gluten-free grains such as corn, rice, soybean, potato, and quinoa, are offered as choices for gluten-intolerance consumers.

Industrial Design and Inspection Center (Food Sector) to Support Southern SMEs in Complete Development of Processed Foods

ศูนย์การออกแบบและตรวจสอบอุตสาหกรรม (สาขาอาหาร) ต้นแบบ
หนุน SMEs ภาคใต้ พัฒนาอาหารแปรรูปครบวงจร

Compiled By: Editorial Team
Food Focus Thailand Magazine
editor@foodfocusthailand.com

Full article TH-EN

เส้นเลือดใหญ่ของภาคอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มในประเทศไทยเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก หรือ SMEs ซึ่งบางโรงงานมีข้อจำกัดในเรื่องของเทคโนโลยี เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ทันสมัย นำไปสู่การทำวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ไม่เต็มรูปแบบ

การมีหน่วยงานที่สามารถดำเนินงานเพื่อปรับปรุงและแก้ไขสถานการณ์ดังกล่าวเป็นอีกหนึ่งแนวทางเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมผู้ประกอบการ SMEs ตลอดจนวิสาหกิจชุมชนได้อย่างยั่งยืน สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้เปิดศูนย์การออกแบบและตรวจสอบอุตสาหกรรม (สาขาอาหาร) ต้นแบบ โดยนำร่องแห่งแรกที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ศูนย์ฯ ดังกล่าวจะมีส่วนช่วยหนุนผู้ประกอบการ SMEs และวิสาหกิจชุมชนด้านอาหารและเครื่องดื่มในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ให้สามารถเข้าถึงการบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และครบวงจร ด้วยเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ทันสมัย เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และยกระดับมาตรฐานการผลิตเพื่อการส่งออก โดยมีเป้าหมายเพิ่มศักยภาพการแข่งขันให้กับสินค้าอาหารแปรรูปของไทย คาดการณ์กันว่าจะสามารถให้บริการได้ปีละไม่น้อยกว่า 30 ราย และในปี 2562 มีแผนที่จะเปิดศูนย์ฯ เพิ่มอีก 2 แห่ง ที่จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดชลบุรี

SMEs are the main artery of the food and beverage industry in Thailand. Certain technological limitations or lack of modern equipment faced by some of these SMEs may prevent their product research and development from reaching its full potential.

An organization capable of improving such situation is one of the solutions that can lead to a sustainable support to SMEs and community enterprises. The National Food Institute, Ministry of Industry, has hence established the first Industrial Design and Inspection Center (Food Sector) in Hat Yai district, Songkhla.

The Industrial Design and Inspection Center (Food Sector) will provide owners of food and beverage SMEs and community enterprises in 14 southern provinces with convenient, fast, and complete access to cutting-edge tools focusing on product development and improvement of manufacturing standards for export. This will increase the competitiveness of Thai processed food products. The center is expected to serve at least 30 entrepreneurs annually. A plan to open two more centers in Khon Kaen and Chon Buri in 2019 is also in place.

 

6 Common Myths about Food Allergen Testing

6 เรื่องที่ไม่เป็นความจริงเกี่ยวกับการทดสอบสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร

Chiara Palladino, Ph.D.
Product Manager for Food Allergens
Romer Labs Division Holding GmbH
Chiara.Palladino@romerlabs.com

Full article TH-EN

ความเข้าใจผิดๆ ที่พบได้บ่อยเกี่ยวกับการทดสอบสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร โดยแบ่งเป็น 6 ข้อหลักๆ ดังนี้

 

  1. ชุดทดสอบสารก่อภูมิแพ้ชุดหนึ่งใช้ทดสอบกับตัวอย่างอาหารชนิดใดก็ได้

ผลิตภัณฑ์อาหารมีองค์ประกอบที่หลากหลายมาก และวิธีการทดสอบบางอย่างอาจจะทำงานได้ดีกว่าในตัวอย่างอาหารบางชนิด โดยขอบเขตของกระบวนการทดสอบมีเพิ่มขึ้นจากความซับซ้อนที่เพิ่มเข้ามาในสมการ

 

2. ข้อความที่ระบุว่า “อาจมีส่วนประกอบของ…” สามารถแก้ปัญหาทุกอย่างได้

การระบุข้อความ “อาจมีส่วนประกอบของ…” คือการกระทำโดยสมัครใจของผู้ผลิตและมักเป็นสิ่งที่ป้องกันไม่ให้ผู้ผลิตซึ่งผลิตอาหารที่มีส่วนประกอบของสารก่อภูมิแพ้ต้องถูกเรียกเก็บผลิตภัณฑ์กลับคืนภายหลัง นี่แสดงให้เห็นว่าในความจริงแล้วยังคงมีความเสี่ยงของการปนเปื้อนสารก่อภูมิแพ้ในผลิตภัณฑ์อาหารที่มีการติดฉลากข้อความเตือนอยู่

  1. เทคนิค PCR มีความน่าเชื่อถือกว่าเทคนิคทางระบบภูมิคุ้มกัน

เทคนิค PCR นั้นใช้เมื่อต้องการการตรวจวิเคราะห์ที่มีความแม่นยำสูงและได้ผลการตรวจที่รวดเร็ว ในขณะเดียวกันการทดสอบทางระบบภูมิคุ้มกันนั้นก็ยังเป็นมาตรฐานการทดสอบที่ให้ผลดีเยี่ยมและใช้ในการทดสอบสารก่อภูมิแพ้ในอาหารโดยตรง

 

4. เทคนิค Mass Spectrometry (MS) จะเข้ามาแทนที่ชุดทดสอบสารก่อภูมิแพ้ในไม่ช้า

เทคนิค Mass Spectrometry (MS) ยังถือว่าเป็นเทคนิคที่เพิ่งเริ่มต้นและปัจจุบันมีการสงวนไว้ใช้เฉพาะเพื่อการศึกษาวิจัยเท่านั้น โดยยังไม่อาจให้ผลลัพธ์ของการตรวจสารก่อภูมิแพ้ในอาหารในระดับความน่าเชื่อถือสูงสุดได้

  1. ชุดทดสอบทั้งหมดให้ผลการตรวจสอบเหมือนกัน

ชุดทดสอบมีหนึ่งสิ่งที่เหมือนกันคือเป้าหมายการตรวจแบบกว้างๆ เช่น ถั่วลิสง หรือเคซีน แต่ความเหมือนจบลงแค่นั้น โดยชุดทดสอบที่ไม่เหมือนกันจะใช้บัฟเฟอร์และวิธีการทดสอบที่แตกต่างกันซึ่งอาจมีผลต่อกระบวนการวิเคราะห์ทดสอบและสร้างรูปแบบที่แตกต่างกัน

 

  1. “รายการสารก่อภูมิแพ้อาหารอ้างอิง” ช่วยทำให้การทดสอบมีความน่าเชื่อถือ

อาจเหมือนเป็นคำยืนยันที่น่าสงสัยแต่ก็เป็นความจริง คือไม่มีรายการอ้างอิงของสารก่อภูมิแพ้อาหารแม้จะมีการกล่าวอ้างโดยผู้ผลิตบางรายก็ตาม

 

Here, we dispel six of the most common misconceptions about food allergen testing.

Myth #1: A test kit off the shelf works with any food matrix.

Food products are highly diverse and certain test methods may work better for certain food samples. The extent of processing adds further complexity to this equation. With new or unfamiliar matrices, we always undertake a spike recovery validation at three different levels to make sure it works with our kits and covers the detection range of the assay.

 

Myth #2: “May contain…” statements can solve all our problems.

Advisory “May contain…” statements are voluntary and often serve primarily to prevent the producer from having to make potential allergen-related product recalls. There is a real risk of allergen contamination in products that only make a precautionary statement. Consumers with allergies should avoid products with precautionary labels, as the risk is not assessable. In return, food producers should avoid using a “may contain…” statement without reasonable suspicion.

Myth #3: PCR is more reliable than immunological tests.

It depends. Polymerase chain reaction (PCR) assays are extremely sensitive and make sense when specificity is called for. All the same, immunological rapid tests are still the gold standard and should be preferred in most cases as they directly detect food allergens.

 

Myth #4: Mass spectrometry will soon replace allergen rapid tests.

Mass spectrometry (MS) is a high-end technology that is already used in several fields for routine analysis and shows some potential in allergen analysis: it can measure several allergens in parallel. However, it is still in its infancy and is currently restricted to research applications. MS is not yet able to deliver the highest level of accuracy in food allergen testing.

Myth #5: All test kits on the market detect the same.

Kits do have one thing in common: the overall target (e.g. peanut or casein). But the similarities end there. Different kits use different buffers and procedures, which can have an impact on the extraction process and generate diverging patterns. Furthermore, kits differ in the antibodies used, which, in an added layer of complexity, need to take the various methods of food processing into account.

 

Myth #6: Currently available “Allergen reference materials” improve testing reliability.

It may be a controversial assertion, but it’s the truth: there are no allergen reference materials, despite the claims by some producers.