Page 57 - FoodFocusThailand No.216 MARCH 2024
P. 57

STRATEGIC R & D




                     ทำี�เพั่�มขึ�นจึงส่งผลัให้ผู้บร์่โภค้ทำั�วโลักให้ค้วามสำาค้ัญกับ             โดยแอสปาร์์แตมจะมีลัักษณะเป็นผลัึกสีขาว ไม่มีกลั่�น ไม่มีร์สขม
                     การ์อ่านฉลัากผลั่ตภัณฑ์์ทำี�มีการ์ร์ะบุข้อมูลัทำางโภช่นาการ์  หร์ือร์สตกค้้าง แลัะไม่ทำำาให้ฟัันผุ ทำั�งยังมีค้วามหวานมากกว่านำ�าตาลั
                     มากขึ�น  ดังนั�น  ผู้ผลั่ตจึงต้องมีค้วามเข้าใจเกี�ยวกับ                           ซููโค้ร์สถึึง 200 เทำ่า โดยหลัังจากเข้าสู่กร์ะบวนการ์เมแทำบอลั่ซูึมจะ
                     สาร์ให้ค้วามหวานแทำนนำ�าตาลัอย่างลัึกซูึ�ง เพัื�อนำามาใช่้ได้           สลัายตัวออกมาเป็นสาร์ฟัีน่ลัอะลัานีน ร์้อยลัะ 50 กร์ดแอสปาร์์ต่ก
                     อย่างปลัอดภัยแลัะเป็นไปตามหลัักเกณฑ์์สำาหร์ับการ์ร์ะบุ   ร์้อยลัะ 40 แลัะเมทำ่ลัแอลักอฮอลั์ ร์้อยลัะ 10 โดยนำ�าหนัก ซูึ�งสาร์ทำี�ได้นี�
                     บนฉลัากตามทำี�กำาหนดไว้                            จะเหมือนกับทำี�ร์่างกายได้ร์ับจากอาหาร์ทำั�วไป เช่่น นม ผัก แลัะผลัไม้
                                                                        อย่างไร์ก็ตาม สาร์ฟัีน่ลัอะลัานีน จะมีผลัเสียกับผู้ทำี�มีปัญหาภาวะฟัีน่ลั-
                     เจาะลึึกข้้อมููลึสารให้้ความูห้วานแทนน้ำตาลึท่�นิยมูใช้้  ค้ีโตนูเร์ีย (Phenylketonuria) หร์ือผู้ทำี�ไม่สามาร์ถึใช่้ฟัีน่ลัอะลัานีนได้

                     ปัจจุบัน มีสาร์ให้ค้วามหวานแทำนนำ�าตาลัทำี�ปลัอดภัยให้         ตามปกต่ ซูึ�งเก่ดจากค้วามผ่ดปกต่ทำางพัันธุุกร์ร์มทำี�มีค้วามบกพัร์่อง
                     เลัือกใช่้ได้หลัายช่น่ด ซูึ�งแต่ลัะช่น่ดก็จะมีข้อดีแลัะข้อด้อย  ของยีนทำี�เกี�ยวข้องกับการ์สร์้างเอนไซูม์ฟัีน่ลัอะลัานีน ไฮดร์อกซู่เลัส
                     แตกต่างกันไป ดังนั�นการ์มีค้วามร์ู้พัื�นฐานเกี�ยวกับสาร์ให้  (Phenylalanine hydroxylase) ในการ์ย่อยกร์ดอะม่โนช่น่ดนี� ซูึ�งหาก
                     ค้วามหวานแทำนนำ�าตาลัแต่ลัะช่น่ด ก็จะทำำาให้ผู้ผลั่ตสามาร์ถึ  มีปร์่มาณสาร์ฟัีน่ลัอะลัานีนสะสมในเลัือดมากผ่ดปกต่อาจเป็นอันตร์าย
                     เลัือกใช่้สาร์ให้ค้วามหวานเหลั่านี�ได้ถึูกต้องตามวัตถึุปร์ะสงค้์   ต่อสมอง โดยข้อกำาหนดของสหภาพัยุโร์ป (EU) No. 1169/2011 ได้ร์ะบุ
                     โดยในบทำค้วามนี�จะยกตัวอย่างสาร์ให้ค้วามหวานแทำน   ไว้ว่า ผลั่ตภัณฑ์์อาหาร์แลัะเค้ร์ื�องดื�มทำุกช่น่ดทำี�มีการ์ใช่้แอสปาร์์แตม
                     นำ�าตาลัในกลัุ่มทำี�ไม่ให้พัลัังงาน 3 ช่น่ด ทำี�มีการ์ใช่้มากทำี�สุด      ต้องร์ะบุทำี�ฉลัากว่า “contains aspartame (source of phenylalanine)”
                     ในปร์ะเทำศไทำย ดังต่อไปนี�                         นอกจากนี� ยังมีข้อมูลัว่า แอสปาร์์แตมไม่สามาร์ถึใช่้ได้ในอาหาร์ทำี�มีค้่า
                        1. เอซีีซีัลเฟม เค (E950)  (Acesulfame-K) ค้ือ                 pH มากกว่า 6 แลัะมีค้่า pH ทำี�ไม่ค้งตัวเมื�อสัมผัสกับอุณหภูม่สูง
                     เกลัือโปแตสเซูียมของเอซูีซูัลัเฟัม  เป็นหนึ�งในสาร์ให้             เนื�องจากแอสปาร์์แตมไม่สามาร์ถึทำนค้วามร์้อนได้แลัะอาจทำำาให้เก่ด
                     ค้วามหวานแทำนนำ�าตาลัทำี�น่ยมใช่้ในปัจจุบัน มีลัักษณะเป็น
                     ผลัึกสีขาว ไม่มีกลั่�น แลัะมีนำ�าหนักโมเลักุลั 201.24 กร์ัม/โมลั
                     โดยมีค้วามหวานมากกว่านำ�าตาลัซููโค้ร์ส 200 เทำ่า แต่จะมีร์สขม
                     ค้้างอยู่เลั็กน้อยภายหลัังจากการ์กลัืน (After taste) จึงน่ยม

                     พััฒนาผลั่ตภัณฑ์์โดยใช่้เอซูีซูัลัเฟัม เค้ ร์่วมกับสาร์ให้ค้วามหวาน
                     แทำนนำ�าตาลัช่น่ดอื�น เช่่น แอสปาร์์แตมไซูค้ลัาเมต แลัะ
                     ซููค้ร์าโลัส เพัื�อปร์ับปร์ุงร์สช่าต่แลัะเสร์่มร์สหวาน แต่อย่างไร์
                     ก็ตาม เอซูีซูัลัเฟัม เค้นั�นไม่สามาร์ถึผ่านกร์ะบวนการ์
                     เมแทำบอลั่ซูึมในร์่างกายได้จึงถึูกขับออกมาจากร์่างกาย
                     ในร์ูปของเอซูีซูัลัเฟัม เค้โดยตร์ง อีกทำั�งสาร์ให้ค้วามหวานช่น่ดนี�
                     ยังมีข้อโต้แย้งในเร์ื�องค้วามปลัอดภัยเช่่นเดียวกับสาร์ให้
                     ค้วามหวานแทำนนำ�าตาลัอีกหลัายช่น่ด แลัะแม้ว่าจะมีหลัาย
                     การ์ศึกษาทำี�ช่่วยยืนยันค้วามปลัอดภัย แต่ก็ยังมีอีกหลัายงาน
                     ว่จัยเช่่นกันทำี�มีค้วามกังวลัในเร์ื�องนี� โดยมีหนึ�งงานว่จัยทำี�
                     พับว่า เอซูีซูัลัเฟัม เค้ มีผลัต่อผู้ทำี�มีภาวะค้วามดันโลัห่ตสูง
                     (Hypersensitivity) โดยหากได้ร์ับสาร์ให้ค้วามหวานช่น่ดนี�
                     ในปร์่มาณมาก อาจทำำาให้ค้วามร์ุนแร์งของอาการ์ค้วามดัน
                     โลัห่ตสูงเพั่�มขึ�นได้
                        2. แอสปาร์์แตม (E951) (Aspartame) มีโค้ร์งสร์้าง
                     ทำี�ปร์ะกอบด้วยกร์ดอะม่โน 2 ช่น่ด ค้ือ เมทำ่ลัเอสเตอร์์ (Methyl
                     ester) ของฟัีน่ลัอะลัานีน (Phenylalanine) แลัะ  กร์ดแอลั-แอส
                     ปาร์์ต่ก (L-aspartic acid) เช่ื�อมอยู่กับเมทำานอลั ซูึ�งมีนำ�าหนัก

                     โมเลักุลั 294.301 กร์ัม/โมลั โดยสาร์ให้ค้วามหวานแทำนนำ�าตาลั
                     ช่น่ดนี�มีเลัข CAS numbers ค้ือ 22839-47-0 แลัะ 7421-84-3

                                                                                               MAR  2024  FOOD FOCUS THAILAND  57


                                                                                                                     21/2/2567 BE   10:25
         55-60_Strategic R&D_��������������.indd   57                                                                21/2/2567 BE   10:25
         55-60_Strategic R&D_��������������.indd   57
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62