Page 52 - FoodFocusThailand No.156 March 2019
P. 52

SCOOP

         จากการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารหาบเร่แผงลอยทั้งริมบาทวิถีและในตลาด           อาหารว่าง ส่วนขนมไทย เช่น ข้าวเหนียวสังขยา ขนมครก สาคูไส้หมู
       รวมถึงศูนย์อาหารจากเขตต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร รวม 221 ตัวอย่าง 76 ชนิด   กล้วยบวชชี และตะโก้สาคู มีโซเดียมในระดับความเสี่ยงต�่า ระหว่าง 200-600
       แบ่งเป็นกับข้าว 27 ชนิด อาหารจานเดียว 29 ชนิด และ อาหารว่าง/ขนม 20 ชนิด   มิลลิกรัม และซาลาเปาไส้หมูมีโซเดียมต�่าสุด
       พบว่าอาหารที่ส�ารวจส่วนใหญ่มีปริมาณโซเดียมต่อน�้าหนักหน่วยขายเป็นถุง          องค์การอนามัยโลกแนะน�าให้คนเราบริโภค “เกลือ” ไม่เกินวันละ 5 กรัม
       หรือกล่อง ในระดับเสี่ยงต่อสุขภาพ สรุปได้ดังนี้         (1 ช้อนชา) หรือโซเดียมไม่เกินวันละ 2,000 มิลลิกรัม แบ่งเป็นมื้อหลัก 3 มื้อ
         1. ประเภทกับข้าว: ชนิดที่มีน�้าแกงทั้งใส่กะทิ/ไม่ใส่กะทิ ได้แก่ แกงไตปลา   มื้อละ 600 มิลลิกรัม และมื้อว่าง 200 มิลลิกรัม จากผลการส�ารวจครั้งนี้พบว่า
       แกงเทโพ แกงเขียวหวาน พะแนงหมู ฉูฉี่ปลาทู แกงส้มผักรวม ต้มย�า/ต้มโคล้ง   อาหาร Street foods ประเภทกับข้าวและอาหารจานเดียวส่วนใหญ่มีโซเดียม
       แกงจืดวุ้นเส้น ไข่พะโล้ ชนิดที่ใส่พริกแกง ได้แก่ ผัดเผ็ดปลาดุก ปลาทอด-
       ราดพริก รวมถึงเครื่องจิ้ม เช่น น�้าพริกปลาร้า และน�้าพริกกะปิ มีปริมาณโซเดียม  ดร.เนตรนภิส วัฒนสุชาติ
       ในระดับเสี่ยงสูงมาก หรือมากกว่า 2,000 มิลลิกรัมต่อถุงที่จ�าหน่าย ตรวจพบ           Nednapis Vatanasuchart, Ph.D.
       ร้อยละ 59 ของจ�านวนชนิดกับข้าว โดยเฉพาะกับข้าวที่มีการใช้ส่วนผสม ไตปลา   Researcher Expert Level
                                                                         Department of Nutrition and Health
       ปลาร้า และพริกแกง จะมีระดับโซเดียมที่มีความเสี่ยงสูงมากต่อสุขภาพ  Institute of Food Research and Product Development (IFRPD)
                                                                         Kasetsart University
                                                                         ifrnpv@ku.ac.th

       โครงการวิจัยการศึกษาปริมาณโซเดียมและโซเดียมคลอไรด์

       ในอาหารบาทวิถีที่จ�าหน่ายในเขตกรุงเทพมหานคร





















         2. ประเภทอาหารจานเดียว: ชนิดที่มีน�้าซุป (ในกลุ่มอาหารเส้น) เช่น   เกินกว่า 1,500 มิลลิกรัมต่อถุงหรือกล่องที่จ�าหน่าย ซึ่งอยู่ในระดับความเสี่ยงสูง
      ก๋วยเตี๋ยวเย็นตาโฟ ก๋วยเตี๋ยวหมูตุ๋น  ต้มเลือดหมู บะหมี่หมูต้มย�า บะหมี่น�้าหมูแดง   ต่อสุขภาพ จึงควรลดความถี่ในการรับประทานอาหาร Street foods และ
      เส้นหมี่ลูกชิ้นน�้าใส ก๋วยจั๊บน�้าข้น และสุกี้น�้ารวมมิตร รวมถึงอาหารแซ่บ เช่น           หันมาเตรียมอาหารเองบ้างบางมื้อ เพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อการได้รับโซเดียม
      ส้มต�าปูปลาร้า ส้มต�าไทย มีปริมาณโซเดียมในระดับเสี่ยงสูงมาก หรือมากกว่า   มากเกินไป ทั้งนี้ จากการทดลองเตรียมน�้าซุปใสที่เติมน�้าปลาที่ให้รสชาติ
      2,000 มิลลิกรัมต่อถุงที่จ�าหน่าย ตรวจพบร้อยละ 35 ของจ�านวนชนิดอาหารจานเดียว   กลมกล่อมเค็มพอดีนั้น จะใช้น�้าปลา 6 กรัมต่อน�้าซุป 200 มิลลิลิตร จะมีปริมาณ
      ขณะที่โจ๊กหมู ย�ารวมมิตร ลาบหมู ข้าวขาหมู และก๋วยเตี๋ยวราดหน้า มีโซเดียมใน  โซเดียมเพียง 600 มิลลิกรัม จึงมีความเป็นไปได้ที่ร้านค้าจะมีการใช้ผงชูรส
      ระดับเสี่ยงสูง ระหว่าง 1,500-2,000 มิลลิกรัมต่อถุงที่จ�าหน่าย ตรวจพบร้อยละ 17   ผงปรุงแต่งรสชนิดก้อน/ผง ในปริมาณสูงเกินความจ�าเป็น รวมทั้งการใช้
      ของจ�านวนชนิดอาหารจานเดียว ส�าหรับประเภทผัด เช่น ผัดไทย หอยทอด ข้าวผัดหมู  ส่วนผสม เช่น ไตปลา ปลาร้า พริกแกง และกะปิ ที่มีความเค็ม (โซเดียม) สูง
      ใส่ไข่ ก๋วยเตี๋ยวผัดซีอิ๊ว มีโซเดียมในระดับความเสี่ยงปานกลาง และข้าวราดกะเพรา  จึงเป็นผลให้อาหาร Street foods ที่ส�ารวจในการศึกษานี้ส่วนใหญ่มีโซเดียม
      หมู/ไก่ และข้าวไข่เจียว อยู่ในระดับความเสี่ยงต�่า ระหว่าง 600-1,000 มิลลิกรัม         ในระดับความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพ
      ต่อกล่องที่จ�าหน่าย
         3. ประเภทอาหารว่าง/ขนม:
      ชนิดที่มีน�้าจิ้ม ได้แก่ ไส้กรอกทอด
      คอหมูย่าง ทอดมันปลากราย ขนม-
      กุยช่าย ลูกชิ้นปิ้ง ปอเปี๊ยะทอด ไก่ทอด
      ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน มีปริมาณโซเดียมใน
      ระดับเสี่ยงสูง หรือมากกว่า 1,000
      มิลลิกรัมต่อถุงหรือกล่องที่จ�าหน่าย
      ตรวจพบร้อยละ 40 ของจ�านวนชนิด



       50 FOOD FOCUS THAILAND  MAR  2019
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57