Page 48 - FoodFocusThailand No.156 March 2019
P. 48
SEE THROUGH MARKET
ดร.ไพศาล มะระพฤกษ์วรรณ
Paisan Maraprygsavan, Ph.D.
Director
Industrial and Service Trade Research Division
Trade Policy and Strategy Office
Ministry of Commerce
paisan711@gmail.com
ทัพหน้าสู่มหาอ�านาจด้านผลไม้
ทุเรียน “King of Fruit” ก�ำลังก้ำวสู่ควำมเป็นผลไม้ชั้นน�ำระดับโลก
แต่ควำมท้ำทำยใหม่ส�ำหรับทุเรียนไทย คือ กำรแข่งขันที่ก�ำลังจะทวี
ควำมรุนแรงมำกขึ้น
ทุเรียนไทยปีที่ผ่านมาส่อแววแพงสุดในรอบหลายปี ภายหลังความ- ขยายพื้นที่การปลูกทุเรียนเพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นผลไม้ที่นิยมของผู้บริโภค
ต้องการจากตลาดทั้งในและต่างประเทศพุ่งสูง ขณะที่การส�ารวจราคา ทั้งภายในและต่างประเทศ ความต้องการบริโภคมีอย่างต่อเนื่อง แม้ว่า
หน้าสวนพบว่าราคาทุเรียนพุ่งสูงเป็นประวัติการณ์ ตามค�าสั่งซื้อเป็นจ�านวนมาก จะเป็นผลไม้ที่มีราคาสูงก็ตาม
ของผู้ค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ โดยเฉพาะ ปัจจุบันประเทศไทยถือเป็นประเทศผู้ผลิตและผู้ส่งออกทุเรียนสด
ทุเรียนพันธุ์หมอนทองที่ยังคงได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น ท�าให้ราคาขายหน้า รายใหญ่ของโลก ตลาดส่งออกที่ส�าคัญ ได้แก่ จีน เวียดนาม และฮ่องกง
สวนปรับเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ราคาทุเรียนมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ขณะที่การส่งออกไปไต้หวัน มาเลเซีย เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และ
ได้เกิดค�าถามว่าสถานการณ์ที่สดใสนี้จะมีความยั่งยืนต่อไปหรือไม่เพียงใด? แคนาดา แม้จะยังมีน้อยแต่พบว่ามีการขยายตัวสูงมาก มีศักยภาพที่จะ
ด้านผลผลิต: ในปี 2560 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกทุเรียน 611,186 ไร่ พัฒนาตลาดต่อไป ประเทศคู่แข่งในการส่งออกทุเรียน ได้แก่ มาเลเซีย
(ที่มา: ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร) (โดยร้อยละ 89 เป็นการปลูกทุเรียน อินโดนีเซีย และเวียดนาม ทั้งนี้ พบว่าประเทศเวียดนามมีการน�าทุเรียนเข้า
หมอนทอง สอดคล้องกับความต้องการของตลาดจีนที่นิยมหมอนทอง) มี จากไทยมากขึ้น ใช้บริโภคภายในเพียงร้อยละ 30 ที่เหลือส่งต่อไปขายจีน
ผลผลิตทุเรียนออกสู่ตลาดได้จ�านวน 635,031 ตัน สามารถจ�าหน่ายส่งออก อีกต่อหนึ่งทางรถยนต์ผ่านชายแดนเวียดนาม-จีน
ต่างประเทศคิดเป็นมูลค่า 652.89 ล้านเหรียญสหรัฐ และในปี 2561
ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานว่าประเทศไทยจะมีผลผลิตทุเรียน วิเคราะห์สถานการณ์ทุเรียนไทย
ออกสู่ตลาด 726,809 ตัน ผลผลิตต่อไร่เพิ่มจากปีก่อนถึง ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการยุทธศาสตร์พัฒนา
ร้อยละ 14.45 จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิต 1ผลไม้ไทย พ.ศ. 2558-2562 อีกทั้งรัฐบาลมีนโยบาย
ทุเรียนที่ส�าคัญของไทย ได้แก่ ผลักดันให้ไทยเป็นมหาอ�านาจด้านการค้าผลไม้
อันดับ 1 จันทบุรี (พื้นที่เพาะปลูก เมืองร้อนของโลกนั้น จึงควรที่จะมีแผนในการ
ทุเรียน 165,046 ไร่) รองลงมาเป็น พัฒนาผลผลิตทุเรียน สร้างแบรนด์เกรด
ชุมพร (138,801 ไร่) นครศรีธรรมราช พรีเมียมเพื่อเพิ่มมูลค่า และการท�าตลาดให้กับ
(60,194 ไร่) ระยอง (52,706 ไร่) และ ทุเรียนเกรดรองส�าหรับการบริโภคในประเทศ
สุราษฎร์ธานี ( 46,113 ไร่) ทั้งนี้ เพื่อการแปรรูปหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
พบว่าทุกภาคของประเทศไทยมีการ
46 FOOD FOCUS THAILAND MAR 2019
46 FOOD FOCUS THAILAND MAR 2019