Page 34 - 148
P. 34

SPECIAL FOCUS




          สิริพร ไชยธาราทิพย์
          Siriporn Chaitharatip
          Product Manager
          มณีนุช สันตินิภานนท์
          Maneenuch Santinipanon
          Product Advisor
          maneenuch.san@adinop.co.th
          Adinop Co.,Ltd.

      วิตามินบี





      กับโรคซึมเศร้า

















       คนยุคมิลเลนเนียลกับโรคซึมเศร้า               วิตามินบีมีความเกี่ยวข้องอย่างไรต่อสมองและโรคซึมเศร้า
       ความเจริญทางเทคโนโลยีที่ก้าวกระโดด และการแข่งขัน       สารอาหารถือว่าเป็นปัจจัยส�าคัญที่ส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของสมอง หนึ่งในนั้นคือ
       ที่ดุเดือดในสังคมทุกวันนี้ เป็นปัจจัยหนึ่งที่คนรุ่นมิลเลนเนียล  ไมโครนิวเทรียนท์ (Micronutrient) ที่เปรียบเสมือนตัวขับเคลื่อนเล็กๆ ในทุกระบบของ
       หรือคนวัยท�างานหลักในปัจจุบันต้องเผชิญกับสภาวะ  ร่างกาย มีหน้าที่ช่วยรักษาสมดุลระบบการท�างานของสมองให้ด�าเนินไปอย่างราบรื่น
       ความเครียดและกดดันมากขึ้น การที่อยู่ในสภาวะดังกล่าว  หากร่างกายได้รับไมโครนิวเทรียนท์กลุ่มวิตามินบีไม่เพียงพอ จะท�าให้เกิดความผิดปกติ
       เป็นเวลานานและไม่มีวิธีการจัดการกับความเครียด               ในแง่การผลิตและการท�างานของสารสื่อประสาท  ซึ่งอาจน�าไปสู่อาการของโรคซึมเศร้าได้
       จะท�าให้คนกลุ่มนี้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าได้
       การศึกษาทางสถิติขององค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า   ตารางแสดงข้อมูลอาการทางประสาทที่เกิดจากการขาดวิตามินบีชนิดต่างๆ 4
       ภาวะซึมเศร้าเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของโลกที่ท�าให้คน
       สูญเสียสุขภาวะ โดยพบว่ามีผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามากกว่า 300   วิตามินบี       อาการเมื่อร่างกายขาดวิตามิน
       ล้านคนทั่วโลก  ส�าหรับประเทศไทย มีผู้ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็น  วิตามินบี 1   ท�าให้มีอาการที่เกี่ยวเนื่องกับความผิดปกติทางอารมณ์ ความ
                 1
                                                                     วิตกกังวล และภาวะซึมเศร้า
                                                    (Thiamin)
       โรคซึมเศร้ากว่า 1.5 ล้านคน และมีผู้อยู่ในภาวะเสี่ยง
       อีกจ�านวนมาก 2                               วิตามินบี 2      เกิดการสะสมของปัจจัยความเครียด (Stress factors) และ
          สาเหตุหนึ่งของโรคซึมเศร้า คือความผิดปกติของ               (Riboflavin)  อาจน�าไปสู่การเปลี่ยนแปลงของบุคลิกภาพ เช่น บุคลิกภาพ
                                                                     แบบชอบความรุนแรง
       สารเคมีในสมอง ซึ่งสมองเป็นอวัยวะส�าคัญต่อการท�างาน
       ของระบบประสาท ท�าหน้าที่ควบคุมและสั่งการระบบต่างๆ   วิตามินบี 3   ท�าให้มีความเสี่ยงในการเกิดโรคจิตเภท ไบโพลาร์ โรควิตก
       ในร่างกาย เมื่ออายุมากขึ้นประสิทธิภาพของสมองจะลดลง  (Niacin)   กังวล และโรคซึมเศร้า
       และอาจเกิดความผิดปกติ ส่งผลให้เกิดอาการต่างๆ เช่น          วิตามินบี 5  ท�าให้มีความเสี่ยงที่จะมีภาวะซึมเศร้าและวิตกกังวล
       ซึมเศร้า วิตกกังวล และโรคอัลไซเมอร์ นอกจากความเครียด  (Pantothenic acid)
       และความเสื่อมของเซลล์สมองแล้ว อาการเหล่านี้สามารถ         วิตามินบี 6   ท�าให้เกิดภาวะซึมเศร้าได้มากที่สุด เนื่องจากส่งผลให้
       เกิดขึ้นได้จากลักษณะทางพันธุกรรม และภาวะขาด             (Pyridoxine)   Homocysteine เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นสารที่เกี่ยวเนื่องกับโรคลม
       สารอาหารได้อีกด้วย                                            ชัก ไมเกรน และโรคซึมเศร้า
                                                    วิตามินบี 12     ท�าให้มีความเสี่ยงเกิดอาการซึมเศร้ารุนแรง เช่น อยากฆ่าตัวตาย
                                                    (Cobalamin)      ควบคุมตัวเองไม่ได้ อารมณ์ดีหรือแย่ผิดปกติ (ไบโพลาร์)



       32  FOOD FOCUS THAILAND  JUL  2018
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39