Page 56 - 148
P. 56
SURF THE AEC
SURF THE AEC
ขึ้นเหนือไป
อินเดีย
อีก 1 ปี เราจะได้นั่งรถทะลุแม่สอดไปอินเดียด้วยเวลาเพียงครึ่งวัน
โดยถนนสายใหม่ไตรภาคีไทย-เมียนมา-อินเดีย นอกจากจะเป็น
เส้นทางท่องเที่ยวใหม่แล้ว ยังเป็นการเปิดโอกาสให้สินค้าไทย
เจาะตลาดอินเดียและจีนที่มีประชากรรวมเกือบครึ่งหนึ่งของ
ประชากรโลกได้ดีขึ้น
ดร.ไพศาล มะระพฤกษ์วรรณ
Paisan Maraprygsavan, Ph.D.
Director
Industrial and Service Trade Research Division
Trade Policy and Strategy Office
Ministry of Commerce
paisan711@gmail.com
ปัจจุบัน สินค้าไทยใช้เส้นทางนี้เดินทางสู่มัณฑะเลย์และอินเดีย แต่ต้อง (Express way) 20 เลน ระยะทาง 563 กิโลเมตรเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ใช้เวลานานมาก เพราะถนนทรุดโทรม ขาดการดูแล สินค้าไทยเป็นที่นิยม เตรียมพร้อมการเป็นประตูสู่อินเดียและจีนอย่างเต็มตัว ส่วนประเทศไทย
ในเมียนมา โดยร้อยละ 70-80 ของสินค้าในห้างสรรพสินค้าเป็นสินค้าไทย สนับสนุนเส้นทางระหว่างสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา 2-แม่สอด-เมียวดี-
ส่วนในภาคอีสานของอินเดีย สินค้าไทยก็ได้รับความนิยมไม่แพ้สินค้าจากจีน เชิงเขาตะนาวศรี-กอกะเร็ก ระยะทาง 45 กิโลเมตร ปัจจุบันเปิดใช้งานแล้ว
ถนนไตรภาคีมีความยาว 1,400 กิโลเมตร พาดผ่านแม่สอด-ย่างกุ้ง- ส่งผลให้การค้าที่ด่านแม่สอด-เมียวดี พุ่งสูงถึง 7-8 หมื่นล้านบาท/ปี หรือ
กรุงเนปิดอว์-มัณฑะเลย์-ตามู (เมียนมา) และโมเร่ (อินเดีย) ทุกวันนี้ถนนสายนี้ เพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว เนื่องจากเป็นด่านการค้าชายแดนที่มีการค้าขายมากที่สุด
ก�าลังได้รับการซ่อมแซมและพัฒนาขึ้นอย่างเร่งรีบภายใต้ความร่วมมือ ของเมียนมา และล่าสุดรัฐบาลไทยจะให้งบประมาณในการสนับสนุนรัฐบาล
ไทย-เมียนมา-อินเดีย โดยความช่วยเหลือของรัฐบาลอินเดีย ไทย และธนาคาร- เมียนมาอีก 1,800 ล้านบาท ในการก่อสร้างถนนเส้นทางเชื่อมต่อจาก
พัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank; ADB) ซึ่งอินเดียรับผิดชอบปรับปรุง กอกะเร็กไปเมืองหลวงผาอัน-เมืองพะโค และกรุงหงสาวดี ระยะทาง
เส้นทางและสะพาน 75 แห่งจากชายแดนอินเดียมายังเมืองมัณฑะเลย์ อีกประมาณ 68 กิโลเมตร เพื่อรองรับสินค้าไทยโดยเฉพาะ
ด้านถนนมัณฑะเลย์-กรุงเนปิดอว์-ย่างกุ้ง รัฐบาลพม่าปรับปรุงเป็นทางด่วน
54 FOOD FOCUS THAILAND JUL 2018