Page 52 - 148
P. 52
STRONG QC &
STRONG QC & QAQA
Kurt Brunner, Ph.D.
Division Research Officer
Romer Labs Division Holding GmbH
kurt.brunner@romerlabs.com
เทคโนโลยีกำรทดสอบสำรก่อภูมิแพ้
ที่เหนือกว่าเทคนิคทางระบบภูมิคุ้มกัน
ชุดทดสอบสารก่อภูมิแพ้ในอาหารในเชิงพาณิชย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายนั้นใช้หลักการตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิคทางระบบภูมิคุ้มกัน เช่น
เทคนิค ELISA หรือชุดทดสอบแบบแถบสี (Strip tests) โดยการใช้เทคนิค ELISA นั้นจ�าเป็นต้องมีการฝึกอบรมบุคลากรให้มีความสามารถ
ใช้เทคนิคดังกล่าวได้ แต่วิธีดังกล่าวสามารถวิเคราะห์ตัวอย่างจ�านวนมากได้พร้อมกันโดยใช้หลุมทดสอบขนาด 48 หรือ 96 เพลต
ซึ่งโดยทั่วไปการวิเคราะห์อาจใช้เวลาประมาณ 30 นาที และหนึ่งถึงสองชั่วโมง
ปัจจุบันเทคนิค ELISA เป็นวิธีที่มีการน�ามาใช้อย่างแพร่หลายในการตรวจหา มาใช้เมื่อหลายปีก่อนในด้านการตรวจวินิจฉัยโรค การตรวจชิ้นส่วนหลักฐาน
และตรวจวัดปริมาณสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร อย่างไรก็ตาม แม้จะสามารถ และการตรวจติดตามทางสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปรพันธุกรรม
วิเคราะห์ได้หลายตัวอย่างในเวลาเดียวกัน แต่ตัวอย่างเหล่านั้นสามารถใช้กับ ในช่วงต้นปี 2000 เทคนิค PCR ได้น�ามาใช้เป็นครั้งแรกในการระบุ DNA
ชุดวิเคราะห์ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ของสารก่อภูมิแพ้ในอาหารทั่วไปอย่างถั่วฮาเซลนัทและถัวลิสง กระทั่งปัจจุบัน
ข้อจ�ำกัดในกำรเลือกวิธีกำรทดสอบ เทคนิคดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ในการตรวจวิเคราะห์สารก่อภูมิแพ้หลักๆ
เนื่องจากความจ�าเพาะเจาะจงสูงของแอนติบอดี้ที่จะจับกับโปรตีนซึ่งเป็นสาร- 8 ชนิด ในสหรัฐอเมริกา และสารก่อภูมิแพ้ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในสหภาพยุโรป
ก่อภูมิแพ้เพียงชนิดเดียวเท่านั้น รวมถึงข้อจ�ากัดของเทคโนโลยีนี้ ชุดทดสอบแยก อีก 14 ชนิด
ประเภทสารก่อภูมิแพ้จึงมีการน�ามาใช้ส�าหรับตรวจสอบสารก่อภูมิแพ้แต่ละชนิด เทคนิค PCR จะตรวจจับโมเลกุล DNA ที่มีความเสถียรมากๆ ซึ่งอาจเป็น
นอกจากนี้ ระดับความจ�าเพาะเจาะจงที่สูงของสารก่อภูมิแพ้ยังอาจน�าไปสู่การ- ประโยชน์เมื่อใช้ตรวจวิเคราะห์อาหารที่ผ่านการแปรรูปด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง
อ่านผลการวิเคราะห์ที่เป็นลบเทียมได้ ในกระบวนการผลิตอาหาร เช่น การใช้ โดย DNA มีแนวโน้มที่จะไม่ได้รับผลกระทบแม้ในสภาวะกดดันทางการผลิตและ
ความร้อน การเติมสารประกอบประเภทกรดหรือการหมักสามารถท�าให้ ยังคงสามารถตรวจวัดได้เมื่อโปรตีนส่วนมากเสียสภาพหรือเปลี่ยนรูปไป
โครงสร้างโปรตีนที่เป็นสารก่อภูมิแพ้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ โดยสารก่อภูมิแพ้
ที่เปลี่ยนรูปไปนี้อาจสูญเสียคุณสมบัติทางภูมิคุ้มกัน และแอนติบอดี้ที่จ�าเพาะ
เจาะจงก็จะไม่สามารถเข้าจับกับโปรตีนที่เป็นสารก่อภูมิแพ้ได้ต่อไป และน�าไป
สู่การอ่านผลการวิเคราะห์เป็นลบที่ไม่เป็นลบจริง หรือเพียงแค่มีปริมาณลดลง
แม้จะมีชุดทดสอบ Strip tests ที่ราคาไม่สูง ใช้งานง่าย ไม่จ�าเป็นต้องใช้
อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ และให้ผลการวิเคราะห์ที่รวดเร็วในเวลาไม่กี่นาที
แต่ชุดทดสอบดังกล่าวส่วนมากเป็นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและขึ้นอยูกับ
ปริมาณแอนติบอดี้ที่ใช้เป็นตัวจดจ�า รูปที่ 1 การวิเคราะห์ PCR โดยทั่วไป
กำรทดสอบสำรก่อภูมิแพ้ด้วยเทคนิค DNA นอกจากนี้ เทคนิค PCR ยังสามารถใช้เพื่อตรวจสารก่อภูมิแพ้ในผักเซเลอรี่
ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในหลอดทดลอง หรือ PCR คือวิธีการ ซึ่งไม่สามารถตรวจด้วยแอนติบอดี้ได้ ในสหภาพยุโรปการตรวจสารก่อภูมิแพ้
วิเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอที่ให้ผลรวดเร็วและราคาไม่สูง เทคโนโลยีนี้พัฒนาขึ้น ในผักเซเลอรี่จะต้องมีการติดฉลาก กระทั่งปัจจุบันความพยามทั้งหมดใน
ในช่วงปี 1980 แล้วพัฒนาต่อมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเทคนิคดังกล่าวได้รับการน�า การผลิตแอนติบอดี้ที่เข้ากันนั้นล้มเหลว เนื่องจากความใกล้เคียงของสายพันธุ์
ผักเซเลอรี่และกลุ่มผักในตระกูลเดียวกันอย่างพาร์สลีย์ แครอท ผักชี หรือเฟนเนล
JUL 2018
50 FOOD FOCUS THAILAND JUL 2018
50 FOOD FOCUS THAILAND