Page 53 - 148
P. 53

STRONG QC & QA


            เทคนิค Mass Spectrometry (MS)           ไม่มีเทคนิคใดที่เหมาะสมไปกับทุกสิ่ง
            เทคนิคการวิเคราะห์ชั้นสูง               เทคนิคที่ดีที่สุดหรือมาตรฐานวิธีการวิเคราะห์ที่ดีที่สุดในการตรวจหาสารก่อภูมิแพ้นั้นไม่มีอยู่จริง
            เทคโนโลยีที่ใหม่กว่าส�าหรับการตรวจวัดและหาปริมาณ  ทั้งเทคนิค ELISA และ LFDs ล้วนเป็นเทคนิคทางเลือกที่มีการน�ามาใช้ในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่
            สารก่อภูมิแพ้ คือ เทคนิค Mass Spectrometry โดยเป็น  ได้ผลการตรวจวิเคราะห์ที่รวดเร็ว ต้นทุนปานกลางจนถึงต�่า และบุคลากรสามารถได้รับการฝึกฝนให้
            เทคโนโลยีการวิเคราะห์ชั้นสูงที่สามารถระบุแยกชนิด  สามารถใช้เทคนิคดังกล่าวได้ ส�าหรับอุปสรรคบางอย่าง เช่น การวิเคราะห์ที่มีความเฉพาะมากๆ หรือ
            โปรตีนและเปปไทด์ด้วยความแม่นย�าสูง โดยมีการน�า  ตัวอย่างการวิเคราะห์ที่ต้องการการประมวลผลขั้นสูง เทคนิค PCR ก็จะให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า ส่วนเทคนิค
            มาใช้วิเคราะห์สารก่อภูมิแพ้ครั้งแรกในช่วงปลายปี   Mass spectrometry นั้นก็นับว่ามีความเหมาะสมในบรรดาเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาขึ้นในขณะนี้
            1990 และผลการวิเคราะห์ส่วนใหญ่ก็ได้รับการเผยแพร่  แต่ก็ยังถือว่าอยู่ในช่วงเริ่มแรกส�าหรับการทดสอบสารก่อภูมิแพ้ อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
            ตีพิมพ์ในช่วงไม่กี่ปีต่อมา              เทคนิค Mass spectrometry ก็ได้กลายมาเป็นเทคนิคที่นักวิเคราะห์จ�านวนมากเลือกใช้ จึงคาดว่า
                                                    เทคโนโลยีนี้จะมีการน�ามาใช้กันมากขึ้นในการวิเคราะห์สารก่อภูมิแพ้ในอนาคตอันใกล้นี้














                  รูปที่ 2 หลักการท�างานของเทคนิค MS

               ข้อดีหลักๆ ของการใช้เทคนิคนี้ในการตรวจสาร-
            ก่อภูมิแพ้คือให้ผลของระดับความเชื่อมั่นในผลการ-
            วิเคราะห์สูง โดยเป็นการใช้เครื่องมือวิเคราะห์เพื่อ
            ตรวจวัดการเรียงตัวของสายเปปไทด์ต่อปริมาณโปรตีน
            ตามทฤษฏีแล้วการตรวจจับเพียงสองถึงสามชิ้นส่วน
            ของพันธะเปปไทด์ก็สามารถใช้วิเคราะห์สารก่อภูมิแพ้
            ได้แล้ว
               ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้คือแม้ว่าโปรตีนจะมีการ-
            เสียสภาพหรือเปลี่ยนรูปร่างไปเนื่องจากสภาวะที่รุนแรง
            ในการผลิต แต่ความน่าจะเป็นของการค้นหาอย่าง
            น้อยหนึ่งชิ้นส่วนที่สมบูรณ์มีความเป็นไปได้ค่อนข้างสูง
            โดยเปปไทด์ที่ได้รับการติดฉลากจะถูกเลือกจากฐาน
            ข้อมูลหรือที่เคยได้รับการตีพิมพ์และต้องมีความจ�าเพาะ
            สูงส�าหรับสารก่อภูมิแพ้ที่ต้องการตรวจหา นอกจากนี้
            ยังต้องสามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ
            ทางการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารได้ด้วย
               อย่างไรก็ตาม หลักการตรวจวัดการเรียงตัวของสาย
            เปปไทด์นั้นไม่สามารถที่จะใช้เทคนิคการตรวจทาง
            ระบบบภูมิคุ้มกันได้ เนื่องจากแอนติบอดี้จะต้องจับกับ
            โครงสร้างของสารก่อภูมิแพ้แบบเฉพาะเจาะจง หากมี
            การเปลี่ยนแปลงชิ้นส่วนโครงสร้างแม้เพียงเล้กน้อยก็จะ
            ท�าให้การจับคู่กันของแอนติเจนและแอนติบอดี้นั้น
            หยุดชะงัก นอกจากนี้ เทคนิค Mass Spectrometry
            สามารถตรวจวัดสารก่อภูมิแพ้ได้หลายชนิดในชุด
            การทดสอบเดียว จะเห็นว่าเทคนิคการวิเคราะห์ดังที่
            กล่าวมานั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่าน
            มา โดยหลักการส�าคัญของนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นมานี้ก็
            เพื่อต้องการช่วยให้ตรวจหาสารก่อภูมิแพ้หลายๆ ชนิด
            ในสารตัวอย่างได้ด้วยเทคนิควิธีการทดสอบเดียว


                                                                                             JUL  2018 FOOD FOCUS THAILAND  51
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58