Page 49 - 148
P. 49
SPECIAL INTERVIEW
เมืองนวัตกรรมอาหาร…รวมกันเราอยู่
พื้นที่นวัตกรรมพิเศษส�าหรับอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร หรือเมือง
นวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) เป็นศูนย์กลางแห่งนวัตกรรมที่พรั่งพร้อม
ไปด้วยบุคลากรผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรม ตลอดจนศูนย์เครื่องมืออุปกรณ์ส�าหรับงานด้านห้องปฏิบัติการ-
วิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย เครื่องมือวิเคราะห์ทดสอบ และศูนย์วิจัยและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร ของส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) ในพื้นที่ดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ที่ได้ออกแบบโดยเฉพาะแบบ
โมดูลาร์ส�าหรับใช้เป็นห้องปฏิบัติการ ซึ่งบริษัทเอกชนสามารถเช่าใช้บริการพื้นที่
ดังกล่าวเพื่อตั้งเป็นหน่วยวิจัย หรือตั้งบริษัทวิจัยในเมืองนวัตกรรมอาหารได้
โดยรูปแบบของการให้บริการ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1) ห้องปฏิบัติการพร้อมใช้ จนถึงปัจจุบัน ภาคเอกชนได้เข้ามาลงทุนจัดตั้งศูนย์วิจัยด้านอาหาร
2) ห้องเปล่า และ 3) พื้นที่เปล่าส�าหรับการสร้างอาคารของภาคเอกชน โดยเฉพาะภายในเมืองนวัตกรรมอาหาร จ�านวน 34 ราย และยังมีภาคเอกชน
“ปัจจุบันเมืองนวัตกรรมอาหารแห่งแรกตั้งอยู่ที่กลุ่มอาคารนวัตกรรม 2 ที่มีความสนใจอีกกว่า 60 ราย ทั้งนี้ มีภาคเอกชนจากต่างประเทศ คือ ญี่ปุ่น
(Innovation Cluster 2: INC2) พื้นที่ประมาณ 120,000 ตารางเมตร ภายใน จ�านวน 4 ราย ได้เข้ามาลงทุนแล้ว และมีเป้าหมายที่จะเชิญชวนผู้ประกอบการ
บริเวณอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี และมีโครงการ จากสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศอื่นๆ ที่เป็น
(Master plan) จะขยายพื้นที่เมืองนวัตกรรม เฟส 2 ไปยังมหาวิทยาลัยต่างๆ ฐานการผลิตอาหารของโลกให้เข้ามาลงทุนเพิ่มเติมอีกด้วย
รวมถึงอุทยานวิทยาศาสตร์ในแต่ละภูมิภาค อาทิ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด เดินเกมต่อ
ขอนแก่น และจังหวัดสงขลา เพื่อให้สามารถรองรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม เพื่ออ�านวยความสะดวกให้กับภาคเอกชนในการด�าเนินธุรกิจ เมืองนวัตกรรม-
เกษตรและอาหารได้อย่างทั่วถึง” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัครวิทย์ กล่าว อาหารได้ผนึกก�าลังความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อผลักดันโครงการต่างๆ
เดินเกมสู่ความส�าเร็จ อาทิ
“ย้อนกลับไปเมื่อ 5-6 ปีที่แล้ว การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย • ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข และ
อยู่ที่ร้อยละ 0.2 ของ GDP เท่านั้น แต่ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลได้มี สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย จัดตั้งหน่วยงาน
นโยบายและมาตรการต่างๆ เพื่อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาของประเทศ กลางในชื่อ Food Innovation and Regulation Network (FIRN) เพื่อท�าหน้าที่
มากยิ่งขึ้น ท�าให้ตัวเลขการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาขยับขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ ประสานงาน สื่อสาร รวมไปถึงฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์อาหาร-
0.7 ของ GDP และพบว่าอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารมีการลงทุนด้าน สุขภาพให้แก่ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยและพัฒนามากที่สุด อย่างไรก็ตาม ยังมีเป้าหมายที่ร้อยละ 1.0 ของ • สวทน. ร่วมกับมหาวิทยาลัย 23 แห่ง และหน่วยงานต่างๆ อาทิ สถาบัน-
GDP ซึ่งเราต้องก้าวไปให้ถึง” เทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน
“เศรษฐกิจของอาเซียนก�าลังเติบโต หากภาคเอกชนเข้ามาลงทุนในอาเซียน (องค์การมหาชน) ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
ก็จ�าเป็นต้องท�างานวิจัยและพัฒนาต่างๆ อาทิ การปรับสูตร ปรับรสชาติ ให้ (องค์การมหาชน) สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น
สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภคในอาเซียน ประเทศไทยของเรามีความพร้อม เพื่อผลักดันให้เกิดการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทรัพยากรบุคคล และท�าเลที่ตั้ง ท�าให้เราสามารถ • ร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น
เป็นศูนย์กลางด้านนวัตกรรมอาหารของอาเซียนได้ไม่ยาก” ร่วมมือกับโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร เพื่อผลักดันให้เกิดคลัสเตอร์
“ภาครัฐมีความมุ่งหวังที่จะสนับสนุน สร้างความได้เปรียบ และลดความเสี่ยง สมุนไพร ร่วมมือกับกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย ซึ่งมีโรงงานต้นแบบด้าน
ให้กับภาคเอกชนที่มีเป้าหมายในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สารสกัดสมุนไพรตั้งอยู่ที่อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เป็นต้น
และนวัตกรรม ตลอดจนงานด้านวิจัยและพัฒนา (R&D) เป้าหมายของ • มีแผนในการท�า MOU ร่วมกับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)
เมืองนวัตกรรมอาหาร คือ การผลักดันให้ภาคเอกชนจัดสรรงบประมาณด้าน จ�ากัด เพื่อจัดท�าโครงการด้านการประกันคุณภาพ
การวิจัยและพัฒนาให้เพิ่มขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับ • รุกหนักเดินหน้าเชื่อมโยงกับภาคีเครือข่ายและภาคเอกชนในต่างประเทศ
ผู้ประกอบการ และการดึงดูดให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนในประเทศไทย” และร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ในการมอบสิทธิพิเศษ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัครวิทย์ กล่าว ทั้งนี้ การวัดความส�าเร็จของเมือง เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
นวัตกรรมอาหารที่จับต้องได้ ณ สิ้นปี 2564 คือ จากโครงการต่างๆ ที่กล่าวมา เมืองนวัตกรรมอาหารจึงเป็นแม่เหล็กดึงดูด
• เป้าหมายมูลค่าการลงทุนในด้านวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาของผู้ประกอบการ ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานที่มี
27,000 ล้านบาท ความรู้เข้าสู่ประเทศไทย…เชื่อว่าหมากเกมนี้จะพลิกกระดานให้ไทยพร้อมด้วย
• มูลค่าทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น 250,000 ล้านบาท อาวุธแห่งวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เดินหน้าพัฒนาเศรษฐกิจและ
• ภาคเอกชนเข้ามาจัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาในประเทศไทย รวม อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารให้มีความยั่งยืนต่อไป
100 ราย
• สนับสนุนผู้ประกอบการในกลุ่มสตาร์ทอัพด้านอาหาร จ�านวน 100 ราย
JUL 2018 FOOD FOCUS THAILAND 47