Page 46 - 148
P. 46

STRATEGIC R&D




                                      Berries

                                      เบอร์รี



                                        โดยเฉพาะบลูเบอร์รีและสตรอว์เบอร์รีได้รับการยอมรับว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพสมองและการจดจ�า
                                     โดยพบว่ามีสารพฤกษเคมีที่ไม่จัดเป็นกลุ่มสารอาหารเรียกว่าฟลาโวนอยด์ ซึ่งเป็นสารประกอบเคมีในพืช
                                   กลุ่มใหญ่ที่พบมากในเบอร์รี องุ่น (และแน่นอนรวมถึงไวน์แดง) แครอท และชา การกินอาหารที่มีฟลาโว-
                                 นอยด์มีผลกับการลดความเสี่ยงของการเกิดโรคสมองเสื่อมและอัลไซเมอร์
                               แอนโทไซยานินเป็นสารสีในกลุ่มฟลาโวนอยด์ที่ช่วยเพิ่มการท�างานของระบบประสาทในตลอดอายุขัย การเสริม
           แอนโทไซยานินส�าหรับผู้สูงอายุที่มีความผิดปกติเล็กน้อยเกี่ยวกับความสามารถของสมองโดยการกินน�้าองุ่นคอนคอร์ดที่อุดมด้วยสารแอนโท-
           ไซยานินและน�้าบลูเบอร์รี ช่วยเพิ่มความสามารถในการท�างานของระบบประสาท โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อรับประทานเป็นประจ�าอย่างต่อเนื่อง
           นานกว่า 12 สัปดาห์
             ในกรณีของเด็กที่มีสุขภาพดี อายุระหว่าง 7-10 ปี การให้กินสารสกัดบลูเบอร์รีที่อุดมด้วยสารแอนโทไซยานินในปริมาณที่เทียบเท่าผลเบอร์รีสด
           120-240 กรัม ช่วยเพิ่มความสามารถของการจดจ�าที่ดีขึ้นได้อย่างรวดเร็วใน 6 ชั่วโมงหลังกินบลูเบอร์รีในมื้อเช้า


             Specifically, blueberries and strawberries have been singled out as particularly beneficial for cognitive health. The reason
           lies in a group of non-nutrient compounds known as flavonoids. Flavonoids are a diverse group of plant chemicals that are highly
           concentrated in berries, grapes (yes, this includes red wine), cacao and teas, and high dietary intake of flavonoids are associated
           with lower risk of dementia and AD.
             Anthocyanins, a subtype of flavonoid, have been shown to improve cognitive function across the lifespan. Supplementing elderly
           adults suffering mild cognitive impairment with anthocyanin-rich concord grape and blueberry juice, respectively, improved their
           cognitive function when consumed daily over 12-weeks.
             In otherwise healthy children aged 7-10yrs, supplementing with blueberry anthocyanins – equivalent to 120-240g fresh berries





          Citrus Fruits

           ผลไม้ตระกูลส้ม



               การตื่นตระหนกกับน�้าตาลในน�้าผลไม้อาจท�าให้เครื่องดื่มอย่างน�้าส้มต้องกระเด็นออกไปจากโต๊ะ
            อาหารเช้า ในขณะที่สมองของคุณอาจยังต้องการอยู่ ผลไม้ตระกูลส้มเป็นเหมือนแหล่งของสารฟลาโวนอยด์
            ที่เรียกว่าเฮสเพอริดิน (Hesperidin) และนาริรูติน (Narirutin) ซึ่งสารออกฤทธิ์ในผลไม้ตระกูลส้มดังกล่าวนี้
            มีผลในการกระตุ้นการท�างานของสมอง
                ในการทดลองแบบสุ่มโดยชุดทดลองที่มีการควบคุมเพื่อเปรียบเทียบ โดยให้อาสาสมัครดื่มน�้าส้มปริมาณ
            500 มิลลิลิตร โดยมีปริมาณสารเฮสเพอริดิน 549 มิลลิกรัม และนาริรูติน 60 มิลลิกรัม (ปริมาณน�้าตาล 45 กรัม) เป็นเวลา
            8 สัปดาห์ พบว่าช่วยเพิ่มการท�างานของสมองให้ท�าหน้าที่จดจ�าได้เป็นอย่างดี มีสมาธิ และมีกระบวนการคิดที่เป็นระบบ ซึ่งผลที่เกิดขึ้นนี้
            ยังไม่เคยมีการพบจากการศึกษาสารฟลาโวนอยด์ชนิดอื่นๆ


               Alarmism over the fruit sugar, fructose, may have chased orange juice away from your breakfast table. Your brain may be
            calling it back. Citrus fruits are home to another member of the flavonoid family, namely the compounds hesperidin and narirutin,
            both of which have been shown to result in boosted brain function.
               In a randomised, placebo-controlled crossover design trial, consuming 500ml orange juice with 549mg hesperidin and 60mg
            narirutin [total 45g sugars, FYI] for 8 weeks improved executive function – the brain tasks which regulate attention, focus and
            organisation – an effect that had not been measured in other flavonoid studies.





       44 FOOD FOCUS THAILAND  JUL  2018
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51