Page 41 - 148
P. 41

SMART PRODUCTION



              1    เพิ่มความคงตัวด้านเนื้อสัมผัส                                       3     เพิ่มกลิ่นรส (Flavor)

                   ของผลิตภัณฑ์ไส้กรอก
                                                                                             และปรับปรุงเนื้อสัมผัส

               โปรตีนไฮโดรไลเซทมีคุณสมบัติเป็นสารอิมัลซิ-                              โปรตีนไฮโดรไลเซทสามารถทดแทน
            ฟายเออร์ (Emulsifier) สามารถลดแรงตึงผิวระหว่าง                          สารประกอบฟอสเฟตเพื่อท�าหน้าที่ให้ความชุ่มฉ�่ากับ
            น�้าและไขมัน เมื่อเนื้อไม่มีไขมันซึ่งมีโปรตีนเป็นหลัก                   ผลิตภัณฑ์ไส้กรอก โดยพบว่าโปรตีนไฮโดรไลเซท
            สับผสมกับไขมัน น�้า และโปรตีนไฮโดรไลเซท จะเกิด                          สามารถจับตัวกับน�้าได้ดี จึงท�าให้ผลิตภัณฑ์ไส้กรอก
            เป็นอิมัลชัน (Meat emulsion) ได้ดี ท�าให้อนุภาคไขมัน                    มีความชุ่มฉ�่า มีเนื้อสัมผัสที่ดี มีงานวิจัย (Feng
            มีขนาดเล็กกระจายตัวได้ดี ไม่แยกชั้น ได้ลักษณะ                           et al., 2014) พบว่าการเติมเอนไซม์โปรตีเอส ใน
                                                                                                                   1
            ของผลิตภัณฑ์ที่เป็นเนื้อเดียวกันดี นอกจากนี้ยังช่วย
            ชะลอการแยกชั้นของอิมัลชันในผลิตภัณฑ์ระหว่าง
            การเก็บรักษา หรือชะลอการเสื่อมคุณภาพไส้กรอก
            ระหว่างการเก็บรักษาเนื่องจากการรวมตัวกันของ
            ส่วนไขมันในไส้กรอก ซึ่งช่วยเพิ่มความคงตัวด้าน
            เนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกระหว่างการวาง
            จ�าหน่ายและเก็บรักษา


            2    ชะลอการหืนและรักษาปริมาณ
                 กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Polyunsaturated
                 Fatty Acids; PUFAs) ที่มีประโยชน์
                 ในผลิตภัณฑ์

               คุณสมบัติที่โดดเด่นอีกประการหนึ่งของโปรตีน-
            ไฮโดรไลเซท คือ ความสามารถในการต้านอนุมูล
            อิสระ (Antioxidant property) ซึ่งจะชะลอการเกิด
            ออกซิเดชันของน�้ามัน (Lipid oxidation) อันเป็น
 ดร.กนกรัตน์ ลิมปิโสภณ   สาเหตุของกลิ่นหืนในผลิตภัณฑ์ไส้กรอก โดยมีงาน
 Kanokrat Limpisophon, Ph.D.  วิจัย (Intarasirisawat et al., 2014) พบว่าเมื่อเก็บ
 fagikrl@ku.ac.th
            ไส้กรอกปลาเป็นเวลานาน 12 วัน ที่อุณหภูมิตู้เย็น

 แพรพลอย พิทักษ์ภิรมย์ไพร   ไส้กรอกปลาที่เติมโปรตีนไฮโดรไลเซทปริมาณ
 Phaeploy Pitakpirompai    ร้อยละ 1-3 ของน�้าหนักไส้กรอก จะมีกลิ่นหืน
 Department of Food Science and Technology  น้อยกว่าไส้กรอกที่ไม่เติมโปรตีนไฮโดรไลเซท
 Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University
            นอกจากนี้ยังพบว่าการเติมโปรตีนไฮโดรไลเซทใน
            ไส้กรอกปลาจะช่วยลดปริมาณการสลายตัวของ
            กรดไขมันไม่อิ่มตัว (PUFAs) คือ Docosahexaenoic
            acid (DHA) และ Eicosapentaenoic acid (EPA)
            ซึ่งเป็นกรดไขมันดีที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย มีหน้าที่
            พัฒนาสมองในวัยเด็ก บ�ารุงสมอง รวมไปถึงการ-
            ป้องกันโรคหลอดเลือดอุดตัน โรคหัวใจ เป็นต้น
            โดยกรดไขมัน PUFAs เหล่านี้ร่างกายไม่สามารถ
            สร้างขึ้นเองได้ จะได้จากการรับประทานอาหารที่มี
            PUFAs ดังนั้น การเติมโปรตีนไฮโดรไลเซทนอกจาก
            จะชะลอการหืนของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกแล้ว ยังช่วย
            คงคุณค่าทางอาหารของกรดไขมันดีที่มีประโยชน์
            ต่อร่างกายด้วย






                                                                                             JUL  2018 FOOD FOCUS THAILAND  39
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46