Page 58 - 148
P. 58
SURF THE AEC
การก่อสร้าง/วัสดุก่อสร้าง ในเมียนมาและอินเดียโดยผ่านเส้นทางนี้ ประเทศต่างตระหนักถึงปัญหานี้ และให้ความส�าคัญกับการเชื่อมเส้นทาง
ความร่วมมือในพื้นที่เส้นทางใน 3 ประเทศทางเศรษฐกิจจะเป็นในลักษณะ การค้ากับอาเซียนที่จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจได้รวดเร็วขึ้น
เกื้อกูลกันเป็นหลัก ปัจจุบันเศรษฐกิจประเทศไทยเป็นยุค 3.0 หรือเป็นยุค มัณฑะเลย์ เป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองรองจากนครย่างกุ้ง เป็นเมือง
อุตสาหกรรมหนัก เช่น ไทยผลิตและส่งออกเหล็กกล้า น�้ามันส�าเร็จรูป รถยนต์/ ศูนย์กลางการค้าปลีก-ค้าส่งอันดับ 1 ของเมียนมา และก�าลังก้าวขึ้นเป็นประตู
ชิ้นส่วน วัสดุก่อสร้างและปูนซีเมนต์ เป็นต้น โดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ การค้า/ฐานการผลิตมุ่งสู่ตลาดอินเดียและจีน (ประชากรรวม 2,600 ล้านคน
และก�าลังก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ซึ่งเป็นเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม หรือร้อยละ 40 ของประชากรโลก) ปัจจุบันมีเขตอุตสาหกรรมมัณฑะเลย์
ส่วนเมียนมาและภาคอีสานของอินเดียยังคงเป็นยุค 1.0 คือ เป็นยุคของ (Mandalay Industrial Zone) ซึ่งมีบริษัทเข้าไปด�าเนินการแล้วประมาณ 1,200
เกษตรกรรม และก�าลังพัฒนาเศรษฐกิจไปสู่ยุค 2.0 คือ ยุคอุตสาหกรรมเบา ราย ในสาขาธุรกิจส�าคัญ เช่น โรงงานถลุงเหล็ก การแปรรูปสินค้าเกษตร
ซึ่งในยุคนี้ต้องมีเครื่องมือเข้ามาช่วย เช่น ผลิตเสื้อผ้า กระเป๋า และการแปรรูป สิ่งทอ เฟอร์นิเจอร์ไม้ ผลิตภัณฑ์ไม้ และอุปกรณ์เครื่องจักรกล ส�าหรับ
สินค้าเกษตร เป็นต้น จึงต้องมีการน�าเข้าปัจจัยการผลิตมากขึ้น ซึ่งโดย ธุรกิจไทยในเขตอุตสาหกรรมนี้เป็นธุรกิจจัดจ�าหน่ายเครื่องจักรกลการเกษตร
ธรรมชาติแล้วการค้าจะไหลจากประเทศที่มีระดับการพัฒนาที่มากกว่าไปยัง และธุรกิจผลิตอาหารสัตว์
ประเทศที่มีระดับการพัฒนาที่น้อยกว่า สินค้าที่มีศักยภาพในตลาดนี้ ได้แก่ มัณฑะเลย์ยังเป็นจุดตัดกับเส้นทางสายไหมตอนใต้ของจีนอีกด้วย โดย
อาหารแปรรูป เครื่องจักรกลทางการเกษตร ยานยนต์ ด้าย ผ้าผืน หนังฟอก เส้นทางนี้เริ่มจากท่าเรือจาวผิ่ว (Kyaukpyu) ริมอ่าวเบงกอล ใกล้เมืองซิตตเว
น�้าตาล และเม็ดพลาสติก ขณะที่เมียนมาและอินเดียอุดมสมบูรณ์ด้วย และกรุงเนปิดอว์ โดยการสนับสนุนการก่อสร้างจากจีนซึ่งประกอบด้วยการ-
ทรัพยากรธรรมชาติที่จ�าเป็นต่อภาคการผลิตของไทย อาทิ เมียนมาอุดม ก่อสร้างท่าเรือน�้าลึก/ท่อน�้ามัน/ก๊าซ/ถนนเชื่อมต่อไปยังมัณฑะเลย์และ
สมบูรณ์ด้วยทรัพยากรประมง อัญมณี ทองค�า น�้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ไม้สัก คุนหมิงของจีน ซึ่งด�าเนินการเสร็จเรียบร้อยเมื่อปี 2556 เพื่อการขนถ่ายน�้ามัน/
ไม้ซุง และหินปูน ส่วนอินเดียมีถ่านหิน (มากเป็นอันดับ 4 ของโลก) เหล็ก ก๊าซจากตะวันออกกลางและเมียนมาสู่จีน ส่งผลให้เกิดธุรกิจต่อเนื่อง
แมงกานีส (อันดับ 7 ของโลก) ไมก้า บอกไซต์ (อันดับ 5 ของโลก) โครไมต์ หลายอย่างในแนวเส้นทางดังกล่าว อาทิ นิคมอุตสาหกรรมปิโตรเคมี โรงกลั่น-
ก๊าซธรรมชาติ เพชร หินปูน ทอเรียม (อันดับ 1 ของโลก แหล่งใหญ่อยู่ชายฝั่ง น�้ามัน เมืองใหม่/ชุมชนใหม่ และทางรถไฟ และเส้นทางนี้ยังมีความน่าสนใจ
เกรละ) จึงเป็นไปได้สูงที่จะมีการแลกเปลี่ยนปัจจัยการผลิต/วัตถุดิบผ่าน ในแง่ที่สินค้าไทยจะมีช่องทางตลาดทั้งในระดับผู้บริโภคทั่วไปและระดับ
เส้นทางนี้เพิ่มมากขึ้น อุตสาหกรรมตามแนวเส้นทางนี้ที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจขึ้นเป็นล�าดับ
ตลาดภาคอีสานอินเดียค่อนข้างใหม่ส�าหรับคนไทย จึงควรหาพันธมิตร ปัจจุบันความเคลื่อนไหวของมหาอ�านาจที่ส�าคัญ คือ การเข้าไป
ทางการค้าที่รู้จักตลาดเป็นอย่างดี คนกลางทางการค้าที่เราควรให้ความสนใจ ร่วมพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจในประเทศต่างๆ เช่น ญี่ปุ่น (ในไทยและอินเดีย)
เป็นพิเศษเห็นจะเป็นชาวอินเดีย (เชื้อสายเจนไน) ในเมียนมา คนกลุ่มนี้เปรียบ จีน (ในปากีสถาน เมียนมา ลาว และศรีลังกา) เกาหลีใต้ (ในเวียดนาม) ดังนั้น
ได้กับพ่อค้าจีนในไทยที่เก่งค้าขาย คนกลุ่มนี้ก็ค้าขาย/พ�านักในมัณฑะเลย์ ประเทศไทยจึงควรเตรียมความพร้อมในระดับนโยบายในการเข้าไป
โมเร่ และตามูจ�านวนมากเนื่องจากเป็นย่านการค้าเก่าแก่ อีกทั้งเชี่ยวชาญ ร่วมพัฒนาเส้นทางเศรษฐกิจไตรภาคีแห่งนี้ ซึ่งมีศักยภาพสูงที่จะเกิดระเบียง
ทั้งตลาดอินเดียและเมียนมา จึงเหมาะที่จะเป็นพันธมิตรในการเจาะตลาดใน เศรษฐกิจในท�านองเดียวกับระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ของ
เส้นทางไตรภาคี นอกจากนั้น ภาคอีสานของอินเดียจะมีความคล้ายกับ ไทยด้วย อันจะช่วยสร้างโอกาสทางการส่งออก/การลงทุนที่หลากหลายให้กับ
ยูนนานของจีนที่ห่างไกลความเจริญและไม่มีทางออกทะเล ซึ่งรัฐบาลทั้งสอง ผู้ประกอบการไทยอย่างมั่นคงและยั่งยืน
56 FOOD FOCUS THAILAND JUL 2018