Page 27 - FoodFocusThailand No.158 May 2019
P. 27

SCIENCE & NUTRITION


                                                      มะขาม (Tamarindus indica L.) เป็นต้นไม้ในตระกูล Caesalpiniaceae มะขามมีกรดทาร์ทาริก น�้าตาล-
                                                   รีดิวซ์ น�้ามันหอมระเหย กรดไขมันอิสระ อนุพันธ์ของกรดไขมัน ฟลาโวนอยด์ไกลโคไซด์ (Vitexin, Isovitexin,
                                                                                     [12]
                                                   Orientin และ Isoorientin) และส่วนประกอบ อื่นๆ  มะขามมักใช้ประกอบอาหาร ท�าให้มีรสเปรี้ยว ผลและ
                                                   เมล็ดยังมีฤทธิ์ในการฆ่าจุลชีพ ช่วยในการย่อยอาหาร เป็นยาระบาย ขับเสมหะ ช่วยควบคุมอาการเบาหวาน
                                                   และเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากนี้ ยังพบว่าสารสกัดจากเนื้อมะขามมีสารประกอบพอลิฟีนอลสูง
                                                                        [13]
                                                   ช่วยลดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งในหนูทดลอง และมีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ ส่วนใบอ่อนของมะขาม
                                                                                                         [14]
                                                   สามารถใช้เป็นส่วนผสมที่ให้รสเปรี้ยวแทนมะนาว และพบว่ามีสารต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ มีฤทธิ์
                                                   แก้ปวด และต้านการตายของเซลล์ตับแบบอะพอพโทซิส [13]
                                                      มะกอก (Spondias pinnata (Linn.f.) Kurz) เป็นพืชในตระกูล Anacardiaceae มีลักษณะเป็นไม้ผลัดใบ
                                                   ที่มีความสูง 15-30 เมตร เมื่อโตเต็มที่ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพหลายอย่างที่พบในมะกอก ได้แก่ ฟลาโวนอยด์
                                                   ไกลโคไซด์ อัลคาลอยด์ คาร์โบไฮเดรต ซาโปนิน สเตียรอยด์ และกัม ซึ่งเป็นที่น่าสนใจว่ากัมจากมะกอก
                                                   เป็นสารพอลิแซคคาไรด์ที่มีสภาวะเป็นกรด โดยการสร้างพันธะกับเบต้า-อะไมลิน กรดโอลีนโนลิก และกรดอะมิโน
                                                          [15]
                                             ติ้ว  บางชนิด   สารสกัดหยาบจากมะกอกมีคุณสมบัติทางยา โดยมีฤทธิ์ต้านโรคบิด ต้านเชื้อแบคทีเรีย
                                                   ต้านอาการซึมเศร้า ขับปัสสาวะ เป็นยาระบาย และต้านวัณโรค มะกอกยังเป็นแหล่งที่มาของสารต้าน
                                                   อนุมูลอิสระธรรมชาติที่ไม่มีความเป็นพิษอีกด้วย [16]
                                                      เม็ก (Syzygium gratum (Wight) S.N. Mitra.) มีชื่ออื่นๆ เช่น ไคร้เม็ด ยีมือแล เสม็ด เสม็ดขาว
                                                   เสม็ดแดง เม็กอยู่ในวงศ์ Myrtaceae เป็นต้นไม้ขนาดกลางที่มีความสูงประมาณ 20 เมตร ถึงแม้ว่าการศึกษา
                                                   สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในเม็กยังมีน้อย แต่คุณสมบัติทางยาของสารสกัดหยาบจากเม็ก พบว่ามีฤทธิ์ต้าน
                                                             [10]
                                                   อนุมูลอิสระสูง  พืชชนิดนี้ได้รับการตั้งสมมติฐานว่าไม่มีความเป็นพิษ เนื่องจากเป็นพืชที่ชาวบ้านน�าไป
                                                   บริโภคได้ทุกวัน ดังนั้น สารสกัดหยาบของเม็กจึงถูกน�ามาทดสอบในผู้ป่วยที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย รวมทั้ง
                                                                                                                    [17]
                                                   ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในหนู [18]






                                                  เอกสารอ้างอิง/References
                                                  1.   Na Pattalung, P., Thongtheeraparp, W., Wiriyachitra, P., Taylor, W.C. 1994. Xanthones of Garcinia cowa. Planta Med
                                                     60: 365–8.
                                                  2.   Likhitwitayawuid, K., Phadungchroen, T., Krungkrai, J. 1998. Antimalarial xanthones from Garcinia cowa Planta Med.
                                                     64, 70–72.
                                                  3.   Jena, B.S., Jayaprakasha G.K., Sakariah, K.K. 2002. Organic acids from leaves, fruits, and rinds of Garcinia cowa.
                                                      J Agric Food Chem 50: 3431-4.
                                          มะขาม   4.   Lee, H.H., Chan, H.K. 1977. 1,3,6-Trihydroxy-7-methoxy-8-(3,7dimethyl-2,6 octadienyl) xanthone from Garcinia cowa.
                                                      Phytochem. 16, 2038–40.
                                                  5.   Joseph, G.S., Jayaprakasha, G.K., Selvi, A.T., Jena, B.S., Sakariah, K.K. 2005. Antiaflatoxigenic and antioxidant
                                                     activities of Garcinia extracts. Int J Food Microbiol 101: 153-60.
                                                  6.   Nanasombat, S., Teckchuen, N. 2009. Antimicrobial, antioxidant and anticancer activities of Thai local vegetables.
                                                      J Med Plants Res 3(5): 443-9.
                                                  7.   Xu, G., Kan, W.L., Zhou, Y., Song, J.Z., Han, Q.B., Qiao, C.F., Cho, C.H., Rudd, J.A., Lin, G. and  Xu, H.X. 2010.
                                                      Cytotoxic acylphloroglucinol derivatives from the twigs of Garcinia cowa. J Nat Prod 73(2): 104-8.
                                                  8.   Boonsri, S., Karalai, C., Ponglimanont, C., Kanjana-opas, A., Chantrapromma, K. 2006. Antibacterial and cytotoxic
                                                      xanthones from the roots of Cratoxylum formosum. Phytochem 67: 723-7.
                                                  9.   Waiyaput, W., Payungporn, S., Issara-Amphorm, J., Panjaworayan, N.T. 2012. Inhibitory effects of crude extract from
                                                      some edible Thai plants against replication of hepatitis B virus and human liver cancer cells. BMC Complement Altern
                                                      Med 12(1): 246.
                                                  10.  Kukongviriyapan, U., Luangaram, S., Leekhaosoong, K., Kukongviriyapan, V., Preeprame, S. 2007. Antioxidant and
                                                      vascular protective activities of Cratoxylum formosum, Syzygium gratum and Limnophila aromatica. Biol Pharm
                                                      Bull 30(4): 661-6.
                                                  11.   Maisuthisakul, P., Suttajit, M., Pongsawatmanit, R. 2007. Assessment of phenolic content and free radical-scavenging
                                                      capacity of some Thai indigenous plants. Food Chem 100: 1409-18.
                                          มะกอก   12.  Escalona-Arranz, J.C., Perez-Roses, R. Jimenez, I. L., Rodriguez-Amado, J., Argota-Coello, H., Canizares-Lay, J.,
                                                      Morris-Quevedo, H.J., Sierra-Gonzalez, G. 2010. Chemical constituents of Tamarindus indica L. leaves. Cuban
                                                      Journal of Chemistry [online] Available at http://www.redalyc.org/articulo.oa?id=443543720011
                                                  13.  Bhadoriya, S.S., Ganeshpurkar, A., Narwaria, J., Rai, G., Jain, A.P. 2011. Tamarindus indica: Extent of explored
                                                      potential. Pharmacogn Rev 5(9):73-81.
                                                  14.  Martinello, F., Soares, S.M., Franco, J.J., Santos, A.C., Sugohara, A., Garcia, S.B., Curti, C.,Uyemura, S.A. 2006.
                                                      Hypolipemic and antioxidant activities from Tamarindus indica L. pulp fruit extract in hypercholesterolemic hamsters.
                                                      Food Chem Toxicol 47: 163–70.
                                                  15.  Arranz, J.C.E., Diaz, J.G., Perez-Roses, R., la Vega, J.D. 2014. Effect of Tamarindus indica L.leaves' fluid extract on
                                                      human blood cells. Nat Prod Res 28(18): 1-4.
                                                  16.  Sameh, S., Al-Sayed, E., Labib, R.M., Singab, A.N. 2018. Genus Spondias: A Phytochemical and Pharmacological
                                                      Review. Evid Based Complement Alternat Med [online] Available at https://doi.org/10.1155/2018/5382904
                                                  17.   Bureemas, J., Kukongviriyapan, V., Kukongviriyapan, U., Senggunprai, L. 2007. Effects of Syzygium gratum on
                                                      antioxidant system in β-thalassemia/Hb E patients. KKU Res J 7(2): 15-21.
                                                  18.   Senggunprai, L., Kukongviriyapan, V., Prawan, A., Kukongviriyapan, U. 2010. Consumption of Syzygium gratum promotes
                                             เม็ก      the antioxidant defense system in mice. Plant Foods Hum Nutr 65(4):403-9.

                                                                                                  MAY  2019 FOOD FOCUS THAILAND  27


         26-28_Science & Nutrition_������������.indd   27                                                            22/4/2562 BE   16:59
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32