Page 70 - FoodFocusThailand No.162 September 2019
P. 70

SMART PRODUCTI
       SMART PRODUCTIONON



























                   รองศาสตราจารย์ ดร.วีรเชษฐ์ จิตตาณิชย์
                   Associate Professor Weerachet Jittanit, Ph.D.
                   Department of Food Science and Technology
                   Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University
                   fagiwcj@ku.ac.th

        การแปรรูปอาหารด้วยความร้อน



        โดยใช้เทคนิคซู-วีด








         การแปรรูปอาหารด้วยความร้อนโดยใช้เทคนิคซู-วีด ถูกน�ามาใช้แพร่หลายมากขึ้นในการผลิต
         ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมรับประทาน




           ซู-วีด (Sous-vide) เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลว่า “ภายใต้สุญญากาศ”                การเก็บรักษา (3) ป้องกันการสูญเสียความชื้นและสารให้กลิ่นรสในระหว่าง
        ดังนั้น การแปรรูปอาหารด้วยความร้อนโดยใช้เทคนิคซู-วีด จึงเป็นการน�า  การให้ความร้อน (4) ลดการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันที่อาจท�าให้เกิดกลิ่นรส
        อาหารมาผ่านกระบวนการทางความร้อน โดยอาหารจะถูกบรรจุลงใน                   ที่ไม่พึงประสงค์ และ (5) ลดการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ต้องการออกซิเจน
        ถุงเพาช์ภายใต้สภาวะสุญญากาศ                           ในการด�ารงชีวิต
           หากเปรียบเทียบระหว่างการแปรรูปอาหารด้วยความร้อนโดยใช้เทคนิค  โดยควรดึงอากาศออกจากบรรจุภัณฑ์ให้มีความเป็นสุญญากาศให้มาก
        ซู-วีด เพื่อท�าให้อาหารสุกพร้อมรับประทานกับวิธีการท�าให้อาหารสุกแบบ  ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อลดโอกาสที่ถุงเพาช์จะเกิดการพองตัวหรือฉีกขาด
        ดั้งเดิม จะมีความแตกต่างหลักๆ 2 ประการ คือ (1) ในกรณีที่ใช้เทคนิคซู-วีด   ในระหว่างการให้ความร้อน ในบางกรณีอาจใช้การเติมของเหลว เช่น น�้า
        วัตถุดิบอาหารจะถูกบรรจุลงในถุงเพาช์ และปิดผนึกภายใต้สภาวะ  เข้าไปในถุงเพาช์เพื่อช่วยแทนที่อากาศที่อยู่ภายในวัตถุดิบอาหารอีกด้วย
        สุญญากาศ โดยถุงเพาช์ที่ใช้ต้องมีคุณสมบัติทนต่อความร้อน และเป็นเกรด  การแปรรูปอาหารด้วยความร้อนโดยใช้เทคนิคซู-วีด อาจจะไม่ได้
        ที่ใช้กับอาหาร และ (2) ในกรณีที่ใช้เทคนิคซู-วีด อาหารจะถูกให้ความร้อน  มีวัตถุประสงค์เพื่อพาสเจอร์ไรซ์ หรือท�าให้อาหารปลอดภัยจากเชื้อจุลินทรีย์
        ภายใต้สภาวะอุณหภูมิและระยะเวลาที่มีการควบคุมอย่างละเอียดและ  ก่อโรคเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ต้องการให้อาหารสุกหรือมีลักษณะเนื้อสัมผัส
        แม่นย�ากว่าการท�าให้อาหารสุกด้วยวิธีการแบบดั้งเดิม    ตามที่ผู้บริโภคต้องการ ซึ่งในการแปรรูปอาหารด้วยความร้อนโดยใช้เทคนิค
           การบรรจุอาหารลงในถุงเพาช์และปิดผนึกภายใต้สภาวะสุญญากาศก่อน  ซู-วีด จะอาศัยตัวกลางในการให้ความร้อนเป็นน�้าร้อนหรือไอน�้า ท�าให้
        ผ่านกระบวนการทางความร้อนจะช่วยให้ (1) การถ่ายเทความร้อนจากน�้าร้อน  สามารถควบคุมสภาวะของการให้ความร้อนได้ละเอียดและแม่นย�ากว่าวิธี
        หรือไอน�้าไปยังอาหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (2) อายุการเก็บรักษาของ  การท�าให้อาหารสุกแบบดั้งเดิม จึงช่วยให้ในระหว่างการท�าให้อาหารสุก
        อาหารยาวนานขึ้น เนื่องจากช่วยก�าจัดความเสี่ยงของการปนเปื้อนซ�้าระหว่าง  อาหารไม่ได้รับความร้อนสูงเกินไป และมีคุณภาพดี อุณหภูมิของอาหาร
                                                              มักจะอยู่ในช่วง 60-90 �C
       70  FOOD FOCUS THAILAND  SEP   2019
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75