Page 33 - FoodFocusThailand No.163 October 2019
P. 33

SPECIAL INTERVIEW

                     ในแง่ของผู้ผลิต การคงกลิ่นและรสชาติอาหารที่ดั้งเดิม รวมทั้งความสดใหม่ ประเทศไทย โดยนิตยสาร ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์
                  ถือเป็นความท้าทายอย่างหนึ่ง เนื่องจากในกระบวนการผลิตและแปรรูปอาหารนั้น ได้มีโอกาสสัมภาษณ์ ดร.มาร์ติน เป็นบท
                  จ�าเป็นต้องค�านึงถึงความปลอดภัยของอาหาร จึงต้องผ่านกระบวนการต่างๆ           สัมภาษณ์พิเศษ ดังนี้
                  เช่น การล้าง และการฆ่าเชื้อ ซึ่งอาจท�าให้กลิ่นรสของอาหารเปลี่ยนแปลงไปบ้าง  ดร.มาร์ติน ชี้ว่าในปัจจุบันผู้บริโภคมีความ-
                  ไม่มากก็น้อย และส่งผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้าย   ละเมียดละไมในการเลือกซื้ออาหารมากขึ้น
                                                                      และกลิ่นรส (Flavor) ถือเป็นปัจจัยที่ส�าคัญที่สุด  คุณอภินิหาร ผิวพรรณ (ซ้าย)
                                                                      ในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารของผู้บริโภค              นิสิตปริญญาเอก
                                                                                                     คณะวิทยาศาสตร์
                                                                      ไม่ว่าผลิตภัณฑ์นั้นจะมีประโยชน์ต่อสุขภาพ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                                      หรือมีคุณภาพที่ยั่งยืนหรือไม่ก็ตาม
                                                                         การรับรู้รสชาติของอาหารเกิดจากการสัมผัสในรส (Taste) และกลิ่น (Aroma) ของ
                                                                      อาหาร หลายครั้งเรามักจะมุ่งไปที่การรับรสชาติของอาหารจากในปาก แต่กลิ่นของ
                                                                      อาหารนั้นกลับเป็นเรื่องที่สร้างสีสันและบรรยากาศของการบริโภคได้มากกว่า อาหาร
                                                                      ที่อร่อยก็มักจะมีกลิ่นที่ยั่วยวนใจ นอกเหนือไปจากรสชาติที่สัมผัสได้จากลิ้นของคนเรา
                   Dr.Martin Steinhaus        ศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล กีรติพิบูล  กลิ่นของอาหารเกิดขึ้นทั้งจากการสูดดมอาหารที่อยู่ตรงหน้าก่อนที่เราจะรับประทาน
                   Food Chemistry Researcher  คณะวิทยาศาสตร์
                   Leibniz-Institute for Food Systems Biology   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  (Orthonasal Odor Perception) และเกิดจากการที่กลิ่นของอาหารนั้นสะท้อนกลับ
                   at the Technical University of Munich (TUM)
                                                                      ขึ้นมาภายในโพรงจมูกของคนเราหลังจากที่เรารับประทานอาหารเข้าไปแล้ว
                     ในวันที่ 10-11 กรกฎาคม 2562 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  (Retronasal Odor Perception)
                  ได้จัดงานสัมมนาในหัวข้อเรื่อง “Aroma Chemistry”โดยศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล   ในการศึกษาเรื่องกลิ่นรสในอาหาร เราจะมุ่งเน้นการระบุองค์ประกอบทางเคมี
                  กีรติพิบูล ได้เชิญ ดร.มาร์ติน ชไตน์เฮาส์ นักวิจัยด้านเคมีอาหาร และเป็น                         ที่ส�าคัญที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้กลิ่นรสในอาหาร ซึ่งเราเรียกศาสตร์นี้ว่า “วิทยาศาสตร์
                  ผู้เชี่ยวชาญด้าน Aroma Chemistry จาก Leibniz-Institute for Food Systems  ประสาทสัมผัสเชิงโมเลกุล” เราพบว่าสารที่ท�าให้เกิดกลิ่นรสที่ส�าคัญในอาหารนั้น
                  Biology at the Technical University of Munich (TUM) มาเป็นวิทยากรให้ความรู้ มีไม่มากนัก กล่าวคือ มีประมาณ 10-20 ชนิด ดังนั้น งานของเราจึงแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ
                  ด้านกลิ่นในอาหารแก่ผู้ประกอบการ นักวิจัย และนักวิชาการด้านอาหารของ


                  Flavor (Aroma & Taste) Chemistry




                  เข้าใจให้ถูกจุด…สร้างสรรค์อาหารที่ตรงใจผู้บริโภค




                  แนวโน้มการบริโภคอาหารในยุคปัจจุบันนั้นเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว

                  โดยกระแสการบริโภคอาหารในระดับโลกได้มุ่งสู่อาหารเพื่อสุขภาพ
                  และความยั่งยืนของอาหาร  เน้นการคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพ
                  และผ่านการแปรรูปแต่เพียงเล็กน้อย เพื่อคงความสดใหม่และรสชาติ

                  ที่แท้จริงของอาหารไว้ให้ได้มากที่สุด















                   เรียบเรียงโดย/Compiled By: กองบรรณาธิการ
                                       นิตยสาร ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์
                                       Editorial Team
                                       Food Focus Thailand Magazine
                                       editor@foodfocusthailand.com
                                                                                                                         33
                                                                                                  OCT  2019 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND  33
                                                                                                  OCT  2019
         33-35_Special Interview_Martin.indd   33                                                                    23/9/2562 BE   15:55
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38