Page 56 - FoodFocusThailand No.163 October 2019
P. 56
SEE THROUGH MARKET
2. การลดการขาดดุลการค้าของสหรัฐอเมริกา เช่น การขอให้จีนน�าเข้าสินค้า ได้แซงหน้าสหรัฐอเมริกาเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของจีนไปแล้ว) โดย RCEP เป็นกลุ่ม
เกษตรส�าคัญจากสหรัฐอเมริกามากขึ้น เช่น ถั่วเหลือง จีนก็น่าจะยอมได้ เศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลกครอบคลุมเกือบครึ่งหนึ่งของเศรษฐกิจโลก
ในระดับหนึ่ง (ร้อยละ 39 ของ GDP PPP USD โลก ที่มา: World Bank) และราวครึ่งหนึ่งของ
3. การให้จีนลดการมุ่งหน้าพัฒนาประเทศจีนให้เป็นผู้น�าด้านเทคโนโลยี ประชากรโลก (ร้อยละ 48 ของประชากรโลก ที่มา: World Population Reviews)
ภายในปี 2568 (เช่น 5G ที่ก�าลังจะแซงสหรัฐอเมริกาแล้ว) จีนคงยอมไม่ได้ ทั้งนี้ การถอนตัวของสหรัฐอเมริกาจาก TPP กลับพลิกสถานการณ์ให้จีนเป็น
เพราะเป็นการแทรกแซงอธิปไตยจีน สรุปประเด็นส�าคัญจึงอยู่ที่เป้าหมาย ผู้น�าในภูมิภาคผ่าน RCEP และช่วยให้จีนบรรเทาผลกระทบจากสงคราม
ปี 2568 ของจีน จึงค่อนข้างยากที่จีนจะตกลงกับสหรัฐอเมริกาได้ การค้าได้พอสมควร
2. การเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานของจีน ผ่านโครงการ One Belt One Road
ถล่มกันไปมาเพื่อสร้างอ�านาจต่อรอง กับประเทศในเอเชีย ยุโรป และแอฟริกา รวมทั้งการจัดท�าความตกลง FTA ใน
1. เริ่มสงครามด้วยก�าแพงภาษี สหรัฐอเมริการุกก่อนด้วยการขึ้นภาษีสินค้า กรอบต่างๆ รวมทั้ง RCEP
โดยขึ้นภาษีเหล็กและอลูมิเนียมจากจีน ตามมาด้วยการเพิ่มภาษีศุลกากร
ร้อยละ 25 ต่อสินค้าจีนมูลค่า 5.5 แสนล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งเป็นรายการสินค้า แนวทางปรับตัวของไทย
เกือบทั้งหมดที่จีนส่งไปสหรัฐ ส่วนจีนตอบโต้ด้วยการขึ้นภาษีสินค้าสหรัฐอเมริกา 1. “พาณิชย์” ตั้ง War Room
ร้อยละ 10-15 (ที่มา: The Standard) แผนเบื้องต้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
2. ตอบโต้ด้วยการกีดกันสินค้าไฮเทค เช่น ประเด็น Rare Earth ที่จีนอาจ สูงในสงครามการค้าสหรัฐอเมริกา-จีน ดังนั้น ในการประชุมคณะกรรมการร่วม
ไม่ขายให้สหรัฐอเมริกา (Rare Earth เป็นสินแร่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมไฮเทค) ภาครัฐและเอกชน กระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2562 ส�านักงาน
ประเด็นหัวเหว่ยที่สหรัฐอเมริกาประกาศว่าสินค้าของหัวเหว่ยเป็นภัยคุกคามต่อ นโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) ได้เสนอแนวทางการรับมือกับสงคราม
ความมั่นคงของชาติ และออกค�าสั่งจ�ากัดการท�าธุรกรรมของบริษัทสหรัฐอเมริกา การค้า 4 ด้าน ได้แก่
กับหัวเหว่ย 1) ด้านการเตรียมรับมือกับการเบี่ยงเบนทางการค้า เช่น การไหลทะลัก
3. ลุกลามสู่สงครามทางการเงิน ธนาคารกลางของจีน (PBOC) ได้ประกาศ เข้ามาของสินค้าจากต่างประเทศ เมื่อสินค้าเข้าตลาดทั้งสองประเทศไม่ได้
ลดอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวน ค่าเงินจีนลงต�่าสุดในรอบ 11 ปี ซึ่งสหรัฐอเมริกา เช่น เหล็ก อลูมิเนียม และถั่วเหลือง รวมทั้งสอดส่องการสวมสิทธิ
อ้างว่าเป็นความตั้งใจของจีนเอง เพื่อลดผลกระทบจากการตั้งก�าแพงภาษีของ 2) การจัดการตลาดส่งออก เช่น หาตลาดทดแทนใน RCEP และ FTA
สหรัฐอเมริกา และขึ้นบัญชีจีนเป็น Currency Manipulator ต่างๆ ที่ไทยเป็นสมาชิก
4. สงครามการค้ามีแนวโน้มจบยาก เมื่อความตึงเครียดทวีความรุนแรงขึ้น 3) เร่งรัดการเจรจาด้านการค้าและการลงทุน เช่น เร่งรัด RCEP ให้สรุป
ล่าสุดจีนได้ประกาศขึ้นภาษีสินค้าน�าเข้าจากสหรัฐอเมริกา ร้อยละ 5-10 มูลค่า การเจรจาได้ในปีนี้
75,000 ล้านเหรียญสหรัฐ มีผลบังคับ 1 กันยายน 2562 และ 15 ธันวาคม 2562 4) ด้านการลงทุน สร้างห่วงโซ่อุปทานเชื่อมห่วงโซ่อุปทานโลก
และเรียกเก็บภาษี ร้อยละ 25 รถยนต์น�าเข้าจากสหรัฐอเมริกา และร้อยละ 5 ทั้งนี้ มติที่ประชุมให้จัดตั้งคณะท�างานสงครามการค้า หรือ War Room โดย
ต่อชิ้นส่วนรถยนต์สหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ต่อมาเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2562 มีปลัดกระทรวงพาณิชย์เป็นประธาน และผู้อ�านวยการส�านักงานนโยบายและ
ประธานาธิบดีทรัมป์ได้ออกมาตอบโต้ด้วยการเพิ่มภาษีการน�าเข้าสินค้าจีน ยุทธศาสตร์การค้าเป็นเลขานุการ เพื่อติดตามสถานการณ์สงครามการค้า
อีกร้อยละ 5 ในสินค้ากลุ่ม 300,000 ล้านเหรียญสหรัฐ และ 250,000 ใกล้ชิด
ล้านเหรียญสหรัฐ พร้อมทั้งให้บริษัทสหรัฐอเมริกาถอนตัวออกจากจีน และ 2. ส้มหล่นประเทศไทย
สั่งให้บริษัทรับส่งพัสดุภัณฑ์สหรัฐอเมริกาปฏิเสธการส่งยา Fentanyl จากจีน 2.1 กระแสการย้ายฐานการผลิตเริ่มมีมากขึ้น ตามการเจรจาภายใต้
เข้าไปในสหรัฐอเมริกา สงครามการค้าที่ส่อเค้ายืดเยื้อ โดยผู้ผลิตที่มีฐานการผลิตในจีนหลายรายมีแผน
ย้ายฐานการผลิตบางส่วนออกจากจีน โดยมีอาเซียนเป็นเป้าหมายอันดับแรก
หากเจรจาล้มเหลว…จีนพร้อมไหม? จากการศึกษาของ ATKearney เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 พบว่าผู้ประกอบการ
1. การส่งออกไปสหรัฐอเมริกาของจีนคิดเป็นร้อยละ 19 ของการส่งออกรวม สหรัฐอเมริกาเลือกย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่นๆ ที่มีต้นทุนต�่ากว่า
ของจีน (ที่มา: GTA) หากจีนจ�าต้องสูญเสียตลาดสหรัฐอเมริกา จีนต้องมองหา มากกว่าที่จะย้ายกลับสหรัฐอเมริกา ซึ่งสอดคล้องกับผลการส�ารวจความเห็น
ตลาดใหม่ทดแทน ซึ่งมีความเป็นไปได้อยู่ 2 แนวทาง คือ บริษัทสหรัฐอเมริกาในจีน โดยหอการค้าอเมริกาในจีนเมื่อ กันยายน 2561 โดย
1) เน้นตลาดภายในที่มีขนาดใหญ่ 1,400 ล้านคน โดยคนชั้นกลางมี มีความสนใจอาเซียนเป็นพิเศษ (ที่มา: สนค.) ทั้งนี้ ไทยและเวียดนามเป็นที่
ก�าลังซื้อมากกว่าอดีตมาก ประกอบกับนโยบายเป็นผู้น�าด้านเทคโนโลยีปี 2568 หมายตาอันดับแรกๆ ซึ่งมี 2 อุตสาหกรรมที่มีการเคลื่อนไหวมากเป็นพิเศษ ได้แก่
จะก่อให้เกิดการลงทุนครั้งใหญ่โดยรัฐ 2.1.1 อุตสาหกรรมยานยนต์/เครื่องจักร การผลิตจะมีการกระจายสู่
2) พึ่งพาตลาดในภูมิภาคมากขึ้น เช่น ตลาดอาเซียน และอินเดีย ผ่าน ภูมิภาคมากขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงภาษีการน�าเข้าสินค้า ไทยมีศักยภาพมากที่สุดใน
ความตกลงพันธมิตรทางการค้าระดับภูมิภาค (RCEP) ซึ่งคาดว่าจะสามารถ อาเซียนที่จะรองรับการย้ายฐานการผลิตเพื่อหนีผลกระทบจากสงครามการค้า
สรุปการเจรจาได้ภายในปี 2562 นี้ (สมาชิก RCEP ประกอบด้วย ASEAN 10 โดยเฉพาะยานยนต์ ล่าสุด นายแมตต์ เลวาทิตช์ CEO “ฮาร์เลย์-เดวิดสัน” ได้
ประเทศ กับคู่ภาคีอีก 6 ประเทศ คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย ประกาศย้ายฐานการผลิตจักรยานยนต์ส�าหรับตลาดจีนและเอเชียแปซิฟิกมา
และนิวซีแลนด์) อนึ่ง นับจากเกิดสงครามการค้าปรากฏว่าในปี 2562 อาเซียน ไทยในปี 2562 นี้ เพื่อหนีก�าแพงภาษีจีน ส่วนบริษัทญี่ปุ่นในจีนก็มีแผนย้ายฐาน
56 56 FOOD FOCUS THAILAND OCT 2019T 2019
FOOD FOCUS THAILAND OC
55-58_See through_New.indd 56 23/9/2562 BE 15:43