Page 52 - FoodFocusThailand No.163 October 2019
P. 52
SOURCE OF ENGINEER
การน�าธาตุฟอสฟอรัส
จากน�้าเสียกลับมาใช้ประโยชน์
ฟอสฟอรัส (P) เป็นแร่ธาตุที่มีความจ�าเป็นกับชีวิตคนเรา ฟอสฟอรัสกลับมาใช้ใหม่ คือ การ (i) ใช้เคมีมาฟอกฟอสเฟตจากเถ้าตะกอน
และมีความส�าคัญยิ่งกับการผลิตอาหาร เป็นแร่ธาตุที่มีอยู่ใน จุลินทรีย์ที่ได้จากการเผาแล้ว (ii) การตกตะกอนของผลึกเกลือฟอสเฟต และ
ทุกเซลล์ของร่างกายมนุษย์และมีส่วนส�าคัญในการสร้าง (iii) ผลึกสตรูไวท์ที่ได้จากการย่อยสลายด้วยเทคโนโลยีหมักแบบไร้อากาศ
เถ้าตะกอนที่เกิดจากการเผาย่อยสลายจะมีปริมาณฟอสฟอรัสสูงมาก สามารถ
สารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอ (DNA) เซลล์สมอง กระดูก น�ามาใช้ผลิตกรดฟอสฟอริกในกระบวนการท�ากรดที่ต้องใช้น�้า
และกระบวนการเผาผลาญร่างกาย ปัจจุบันมีการสกัดแร่ธาตุ นอกจากกระบวนการบ�าบัดน�้าเสีย ยังมีการน�าฟอสฟอรัสกลับมาใช้ใหม่
ฟอสฟอรัสจากเหมืองหินฟอสเฟต (Pi) ซึ่งมีแหล่งส�าคัญอยู่ที่ เพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมการผลิตด้วย ฟอสฟอรัสจะถูกแยกออกจากน�้าเสีย
โมร็อกโก จีน และสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตาม การใช้ฟอสฟอรัส น�้าทิ้งจากแหล่งน�้าที่มีความเปราะบางต่อปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชัน การน�า
อย่างไม่มีประสิทธิภาพและการปนเปื้อนของฟอสเฟตจากปุ๋ยเคมี ฟอสฟอรัสที่ได้จากกระบวนการมาใช้ใหม่ เช่น การท�าปุ๋ยจะช่วยลดค่าใช้จ่าย
ผงซักฟอก และการปล่อยน�้าเสียลงแหล่งน�้าธรรมชาติท�าให้เกิด การก�าจัดตะกอนจุลินทรีย์ ช่วยลดค่าใช้จ่ายของโรงงานได้ โรงงานผลิต
เหล็กกล้า คือหนึ่งในแหล่งส�าคัญที่ จีน เกาหลี และญี่ปุ่นน�าฟอสฟอรัสมาผ่าน
ปัญหาปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชัน ซึ่งเป็นผลจากภาวะโลกร้อน กระบวนการน�ากลับมาใช้ใหม่ตลอดกระบวนการถลุงเหล็ก และมีแนวโน้ม
ส่งผลต่อระบบนิเวศ ท�าให้ความเข้มข้นของธาตุฟอสฟอรัสสูงขึ้น
กระตุ้นให้พืชน�้าบางประเภท เช่น สาหร่ายและวัชพืชในน�้า
เจริญเติบโตปกคลุมทั่วบริเวณ ท�าให้น�้าเน่าเสีย ออกซิเจนใน
น�้ามีน้อย แสงลงไม่ถึงข้างล่างส่งผลกระทบต่อการเติบโตของ
พืชน�้า พันธุ์ปลาและระบบนิเวศทางน�้า นอกจากนี้ เหมืองแร่
ฟอสเฟตยังมีการปนเปื้อนของสารพิษโลหะหนักและสารกัมมันต-
รังสี เช่น แคดเมียมและยูเรเนียมในปริมาณสูง ท�าให้เกิด
ความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้ปุ๋ยเคมีในภาค
การเกษตรต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระยะยาว
ความกังวลต่อผลกระทบในเชิงสุขภาพและสิ่งแวดล้อมท�าให้เกิดการ-
พัฒนาเทคโนโลยีน�าธาตุฟอสฟอรัสจากน�้าเสียกลับมาใช้ประโยชน์ทางการ-
เกษตรและอุตสาหกรรม ในกระบวนการบ�าบัดน�้าเสีย ฟอสฟอรัสจะถูกแยก
ออกจากน�้าเสียโดยการใช้สารเคมีหรือกระบวนการเทคโนโลยีชีวภาพ
ฟอสฟอรัสจะถูกกักเก็บไว้ในตะกอนน�้าเสียก่อนน�าไปผ่านกระบวนการหมัก
ย่อยจุลินทรีย์แบบไร้อากาศ (Anaerobic digestion) ด้วยการดึงน�้าออกและ
การเผาย่อยสลาย กระบวนการดังกล่าวท�าให้เกิดการน�าฟอสฟอรัสกลับมา
ใช้ได้อีก จากกระบวนการเหล่านี้ คือ (i) ดึงน�้าเสียจากตะกอนจุลินทรีย์ Professor Hisao Ohtake
Waseda University, Tokyo, Japan
(ii) ตะกอนจุลินทรีย์ที่ย่อยสลาย (iii) และเถ้าตะกอนจุลินทรีย์ที่ได้จากการเผา iwa-network.org
ย่อยสลาย Compiled and Translated By: กองบรรณาธิการ
มีโรงงานน�าฟอสฟอรัสกลับมาใช้ใหม่แบบเต็มรูปแบบตั้งอยู่ในยุโรป นิตยสาร ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์
อเมริกาเหนือ และเอเชียตะวันออก โดยหลักการแล้วเทคโนโลยีการน�า Editorial Team
Food Focus Thailand Magazine
editor@foodfocusthailand.com
52 FOOD FOCUS THAILAND OCT 2019
52-54_Source of Eng_Water.indd 52 23/9/2562 BE 16:06