Page 34 - FoodFocusThailand No.164 November 2019
P. 34

STRONG QC & QAQA
            STRONG QC &

                      รองศาสตราจารย์ ดร.สุดสาย ตรีวานิช
                      Associate Professor Sudsai Trevanich, Ph.D.
                      Department of Food Science and Technology
                      Faculty of Agro-Industry
                      Kasetsart University
                      fagisstn@ku.ac.th



             ข้อจ�ำกัดของเทคนิค



             ทำงโมเลกุลส�ำหรับ


             จุลชีววิทยา






              ทำงควำมปลอดภัยอำหำร











                การปนเปื้อนจุลินทรีย์ชนิดที่เป็นสาเหตุส�าคัญท�าให้เกิด
                โรคอาหารเป็นพิษต่อผู้บริโภคอาจเกิดขึ้นในหลายขั้นตอน

                ตลอดห่วงโซ่การผลิตอาหาร  จุลินทรีย์ดังกล่าวอาจ

                ปนเปื้อนตั้งแต่วัตถุดิบ  สภาพแวดล้อมของการผลิต
                ของโรงงาน หรือการปนเปื้อนข้ามจากผลิตภัณฑ์อาหาร
                ที่มีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ หรือผู้ปฏิบัติงานสัมผัสอาหาร

                ระหว่างการผลิตอาหาร



                 เทคนิคทางโมเลกุลส�าหรับการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหารเป็นวิธีการหนึ่งได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะ
              เวลามากกว่า 25 ปี เนื่องจากเทคนิคดังกล่าวมีความถูกต้อง จ�าเพาะ และรวดเร็วในการแปลผล เทคนิคทางโมเลกุล เช่น ปฏิกิริยาลูกโซ่
              พอลิเมอเรส (Polymerase chain reaction; PCR) Multiplex PCR  และ Real-time PCR จึงเป็นวิธีทางเลือกส�าหรับการประยุกต์ใช้ตรวจ
              วิเคราะห์จุลินทรีย์ชนิดก่อโรคในอาหารแทนวิธีมาตรฐาน
                 กรณีการตรวจวิเคราะห์ไวรัสในอาหาร ไวรัสไม่สามารถเจริญเพิ่มจ�านวนอนุภาคได้เองในตัวอย่างอาหาร จึงไม่สามารถตรวจสอบได้
              ด้วยการเพาะเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อเหมือนจุลินทรีย์ประเภทอื่น เช่น แบคทีเรียชนิดก่อโรคทางอาหาร ดังนั้น เทคนิคทางโมเลกุลจึงเป็น
              วิธีเดียวที่สามารถใช้ตรวจวิเคราะห์ไวรัสในอาหารได้ นอกจากนี้ เทคนิคทางโมเลกุลยังสามารถใช้ในการตรวจวิเคราะห์เซลล์จุลินทรีย์
              ในสภาพที่มีชีวิตแต่ไม่เพิ่มจ�านวน (Viable but non-culturable; VBNC) ซึ่งปนเปื้อนในอาหารได้ เทคนิคทางโมเลกุลเป็นการตรวจสอบ
              สารพันธุกรรมหรือกรดนิวคลิอิกของจุลินทรีย์เป้าหมาย ซึ่งอาจเป็นกรดดีออกซิไรโบนิวคลิอิก (Deoxyribonucleic acid: DNA) หรือ
              กรดไรโบนิวคลิอิก (Ribonucleic acid: RNA) สารพันธุกรรมดังกล่าวพบทั้งสภาพปกติภายในเซลล์จุลินทรีย์ที่มีชีวิต เซลล์ตายที่ยังไม่เกิด
              การย่อยสลาย เซลล์บาดเจ็บ และเซลล์ VBNC ซึ่งปนเปื้อนในอาหาร หรือสภาพที่ถูกปลดปล่อยจากเซลล์จุลินทรีย์ที่ตายแล้ว รวมทั้งสภาพ
              เป็นชิ้นส่วนในอาหาร (ตารางที่ 1)
                 ชุดตรวจสอบหลายชนิดในปัจจุบันส�าหรับจุลินทรีย์ชนิดก่อโรคในอาหารที่มีวางจ�าหน่ายในท้องตลาดมีการพัฒนาขึ้นจากหลักการ
              ตรวจวิเคราะห์อย่างจ�าเพาะต่อสารพันธุกรรมของจุลินทรีย์เป้าหมาย โดยอาจเป็นการตรวจสอบแบบพบหรือไม่พบ (มีหรือไม่มี) หรือ

             34 FOOD FOCUS THAILAND  NOV   2019


         34-37_Strong QC&QA_Sudsai.indd   34                                                                        23/10/2562 BE   14:40
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39