Page 46 - FoodFocusThailand No.201 December 2022
P. 46

SCOOP
       แนวทางและนวัตกรรมการลด



       การบริโภคเกลือและโซเดียม





       จากผลการสำำรวจปริมาณการบริโภคเกลือโซเดีียมในประเทศไทยเมื�อปี 2564 ที�ผ่านมา พบว่า คนไทยอายุ 18-29 ปี บริโภค

       โซเดีียมสำูงที�สำุดี คิดีเป็น 3,797.4 มิลลิกรัม หรือโดียเฉลี�ย 3,500 มิลลิกรัมในทุกช่่วงวัย ซ่�งมากกว่าปริมาณที�องค์การอนามัย
       โลกแนะนำต่่อวัน คือ 2,000 มิลลิกรัมเกือบ 2 เท่า โดียการบริโภคโซเดีียมที�มากจนเกินไปนั�น ล้วนเพิ�มโอกาสำเสำี�ยงต่่อการเกิดี
       โรคต่่างๆ อาทิ ภาวะความดีันโลหิต่สำูง โรคหลอดีเลือดีหัวใจ และโรคไต่เรื�อรัง ซ่�งนำไปสำู่อันต่รายจนถึ่งแก่ช่ีวิต่ไดี้ ดี้วยเหตุ่นี�
       แนวทางการสำ่งเสำริมให้ลดีการบริโภคเกลือโซเดีียมจ่งเป็นภารกิจสำำคัญระดีับประเทศ เพื�อให้ทุกคนมีสำุขภาพดีีและลดีความเสำี�ยง
       ต่่อการเกิดีโรคไม่ต่ิดีต่่อเรื�อรัง (NCDs) โดียมีเป้าหมายในการลดีการบริโภคเกลือโซเดีียมให้ไดี้ร้อยละ 30 ภายในปี 2568



          แนวทางในการลดการบริโภคเกลือ และโซเดียมสามารถเริ�มต้้นได้  เทคนิิคการลดโซเดียมในิผลิตภััณฑ์์อาหาร การรับรู้รสเค็มขึ้อง
       จากการปรับเปลี�ยนพฤต้ิกรรมการบริโภค และหลีกเลี�ยงอาหารที�มี  มนุษย์อาศััยประสาทสัมผู้ัสทั�งห้าในด้านรสชาต้ิ สี กลิ�นรส เนื�อสัมผู้ัส
       รสชาต้ิเค็มมากเกินพอดี ซ่�งการลดการบริโภคโซเดียมเพียงเล็กน้อย   และลักษณะปรากฏ รวมถ่งปัจจัยต้่างๆ ประกอบกัน ไม่ว่าจะเป็น
       ประมาณ 700-800 มิลลิกรัมต้่อวัน สามารถลดอัต้ราความเสี�ยงต้่อ  อุณหภูมิ สิ�งแวดล้อม และอารมณ์ ความรู้ส่ก โดยเทคนิคพื�นฐานที�
       การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดลงได้ถ่งร้อยละ 20 รวมถ่งลดอัต้รา  นิยมใช้ คือการใช้สารทดแทนเกลือ โดยเฉพาะโพแทสเซียมคลอไรด์
       การเสียชีวิต้ได้ร้อยละ 5-7 อย่างไรก็ต้าม การงดรับประทานอาหารที�  (KCl) ที�มักใช้ในการพัฒนาผู้ลิต้ภัณฑ์์อาหารโซเดียมต้ำ�า (Low
       มีรสชาต้ิเค็มอาจจะทำาได้ยาก เนื�องจากความเค็มทำาให้อาหารมีความ  sodium) อย่างไรก็ต้าม KCl ใช้ได้ในปริมาณจำากัด และไม่ควรเกิน
       กลมกล่อม และอร่อยยิ�งขึ้่�น ดังนั�น การปรับปรุงสูต้รอาหารให้มีความ  ร้อยละ 30 เพราะจะทำาให้เกิดรสเฝ้่�อน ซ่�งวิธีีการแก้ปัญหารสเฝ้่�อน
       เค็มลดลง โดยใช้สารทดแทนความเค็ม เช่น โพแทสเซียมคลอไรด์           สามารถทำาได้โดยการใช้สารที�ให้รสอูมามิ หรือ MSG ร่วมด้วย
       สารสกัดจากยีสต้์ เกลือสาหร่าย กรดอะมิโน และพืชสมุนไพร              หรืออีกแนวทางหน่�ง คือ เต้ิมกรดอะมิโนไลซีน ทอรีน หรือ
       ต้ลอดจนการใช้เครื�องมือต้รวจสอบความเค็มในอาหาร จ่งเป็นทาง  5’-ribonucleotide หรือ Disodium inosinate (IMP) และ Disodium

       เลือกหน่�งเพื�อเฝ้้าระวังระดับโซเดียมในร่างกาย และทำาให้ผูู้้บริโภคได้  guanylate (GMP) เรียกรวมว่า I+G ซ่�งสารที�เต้ิมร่วมกันเหล่านี�
       มีทางเลือกเพื�อสุขึ้ภาพมากขึ้่�น                      ส่งผู้ลให้สามารถใช้โพแทสเซียม-คลอไรด์ได้มากขึ้่�นถ่งร้อยละ 50



           Translated and Compiled By: รวิิพร พลพืช

                                  Rawiporn Polpued
                                  Senior Writer
                                  Food Focus Thailand Magazine
                                  editor@foodfocusthailand.com


























       46                 DE
                          DEC   2022C   2022
       46 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51