Page 33 - FoodFocusThailand No.145_April 2018
P. 33

SPECIAL FOCUS


                  สัญญาณดังกล่าว ท�าให้ผู้ประกอบการทั้งไทยและต่างชาติ หรือ  อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการที่อยู่ใน Online Platform อื่นๆ หรือแม้แต่ Offline Platform
               แม้แต่ผู้ผลิตสินค้า/แบรนด์ ต่างหันมารุกตลาดออนไลน์กันมากขึ้น        ต่างก็มีการปรับกลยุทธ์การตลาดกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดรับกับพฤติกรรมของผู้บริโภค
               ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ โดยเฉพาะผู้ประกอบการจาก        ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแบรนด์ (Brand changing) หรือเปลี่ยน
               ต่างชาติ (เช่น จีน เกาหลีใต้) ที่มาพร้อมกับรูปแบบของ E-Market   ช่องทางการซื้อสินค้า (Channel changing) เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคเข้ามาใช้บริการอย่าง
               Place ซึ่งมีจุดแข็งในเรื่องของเงินทุน พันธมิตร ห่วงโซ่อุปทานที่            ต่อเนื่อง และรักษาส่วนแบ่งตลาดไว้ ดังนั้น สุดท้ายแล้ว ผู้บริโภคจะเป็นคนตัดสินใจว่า
               ครบวงจร (ตั้งแต่รูปแบบของแพลทฟอร์ม ระบบการช�าระเงิน และการจัดส่ง  จะซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ หรือจะซื้อผ่านหน้าร้าน ขึ้นอยู่กับว่าช่องทางไหนที่
               สินค้า) รวมถึงผู้ประกอบการค้าปลีกรายเดิม (เช่น กลุ่มค้าปลีก                           สามารถอ�านวยความสะดวก และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคได้มากที่สุด ณ ตอนนั้น
               โมเดิร์นเทรด) ซึ่งมีฐานลูกค้าจากช่องทางออฟไลน์อยู่แล้ว ก็ได้มีการ-  ประเด็นส�าคัญ คือ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ความเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องของกลุ่ม
               ขยายช่องทางออนไลน์เพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้ามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น            ผู้ประกอบการรายใหญ่ โดยเฉพาะในรูปแบบ E-Market Place (ตลาดกลางออนไลน์)
               รูปแบบของ Brand.com หรือ E-Market Place หรือแม้แต่กลุ่มผู้ผลิต
               สินค้าหรือเจ้าของแบรนด์เองต่างก็หันมาท�าตลาดและขยายช่องทาง
               ในการขายสินค้าออนไลน์ด้วยตนเองกันมากขึ้น ส่งผลให้คาดว่า
               ภาพตลาดออนไลน์ช็อปปิ้งของไทยน่าจะมีแนวโน้มขยายตัวได้อย่าง
               รวดเร็วและแข่งขันกันรุนแรงขึ้นในระยะข้างหน้า
                  ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ปี 2561 ตลาด B2C-Online-
               Shopping (เฉพาะสินค้า) จะมีมูลค่าตลาดประมาณ 256,000
               ล้านบาท และจะเพิ่มขึ้นเป็นกว่า 470,000 ล้านบาทในปี 2565 โดยมี
               อัตราการเติบโตเฉลี่ยประมาณร้อยละ 16.0 ต่อปี ท�าให้ช่องทาง
               ออนไลน์ช็อปปิ้งมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 5.0 ในปี 2560
               เป็นร้อยละ 8.2 ในปี 2565 เมื่อเทียบกับภาพรวมของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง
                     3
               ทั้งระบบ โดยรูปแบบของ E-Market Place จะเป็น Online Platform
               ที่เข้ามามีบทบาทมากขึ้น
















































                                                                                                   APR  2018 FOOD FOCUS THAILAND  31


         30-34_Special Focus_Online Shoping.indd   31                                                                20/3/2561 BE   17:39
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38