Page 34 - FoodFocusThailand No.145_April 2018
P. 34
SPECIAL FOCUS
แม้ว่ามุมหนึ่งจะเป็นเสมือนแพลทฟอร์มที่ช่วยอ�านวยความสะดวกในการท�าตลาดออนไลน์ ยกตัวอย่างเช่น ผู้ประกอบการค้าปลีกรายย่อย
ช็อปปิ้งให้กับผู้ประกอบการค้าปลีกรายย่อย ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของ Online Platform ในกลุ่มสินค้าแฟชั่น (เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า)
ที่ใช้งานง่ายและสะดวก การให้บริการช�าระเงินที่มีให้เลือกหลากหลายและปลอดภัย โดยเฉพาะคนที่ซื้อมาขายไป อาจจะต้องปรับตัวไป
รวมถึงมีบริการจัดส่งสินค้าที่หลากหลายและรวดเร็ว แต่ในอีกมุมหนึ่ง ผู้ประกอบการ เป็นผู้ออกแบบและจ�าหน่ายเอง โดยแนวคิด
ค้าปลีกรายย่อยก็อาจจะต้องเผชิญการแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่นๆ ที่อยู่ใน การออกแบบสินค้าอาจจะมาจากการสังเกตและ
E-Market Place อีกจ�านวนมาก และที่น่าสนใจคือ หากเจ้าของ E-Market Place กลายเป็น ศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มลูกค้าแต่ละราย และ
ผู้น�าสินค้าเข้ามาแข่งด้วยตนเอง โดยอาศัยการเข้าถึงฐานข้อมูลของลูกค้าที่เข้ามา น�าแนวคิดดังกล่าวมาออกแบบสินค้าที่สร้าง
ใช้จ่ายผ่านแพลทฟอร์มของตนเอง สามารถรับรู้พฤติกรรมเชิงลึกในการเลือกซื้อสินค้า ประสบการณ์รับรู้ใหม่ให้กับลูกค้าเป็นรายบุคคล
ออนไลน์ของลูกค้าว่าสินค้าอะไรขายดี ก็อาจจะกลายเป็นคู่แข่งที่น�าสินค้าเข้ามาแข่ง เช่น เสื้อผ้าที่ถูกดีไซน์ออกมาให้เข้ากับบุคลิกและ
กับผู้ประกอบการค้าปลีกรายย่อยได้ ทั้งนี้ แม้ว่าความเคลื่อนไหวดังกล่าวจะยังเห็นไม่ชัดในปัจจุบัน รูปร่างของลูกค้าแต่ละราย รองเท้าที่ออกแบบ
แต่คาดว่าในระยะข้างหน้า ก็อาจจะมีความเป็นไปได้ หากผู้ให้บริการ E-Market Place เล็งเห็นโอกาสในการสร้าง มาให้เหมาะกับรูปร่างเท้าของลูกค้า หรือแม้แต่
รายได้ที่เพิ่มขึ้น ตัวบรรจุภัณฑ์ที่มาพร้อมกับสินค้า การ์ด หรือป้าย
ดังนั้น จากที่ตอนแรกมองว่า Online Platform จะเป็นโอกาสและเอื้อต่อการท�าธุรกิจออนไลน์ช็อปปิ้งของ ที่แสดงค�าขอบคุณให้กับลูกค้าแต่ละราย โดยอาจ
ผู้ประกอบการค้าปลีกรายย่อย กลายเป็นว่าการเข้าสู่ตลาดแม้ว่าจะยังคงท�าได้ง่าย แต่ความสามารถในการแข่งขัน จะระบุชื่อและใส่มาในกล่องสินค้า ก็สามารถสร้าง
หรือการด�าเนินธุรกิจให้ประสบความส�าเร็จอาจจะไม่ใช่เรื่องง่ายอีกต่อไป กล่าวคือ ข้อได้เปรียบที่ผู้ประกอบการ ความประทับใจทางด้านอารมณ์หรือความรู้สึก
ค้าปลีกรายย่อยเคยมี เช่น ราคา (ต้นทุนสินค้า) ที่ต�่ากว่าเมื่อเทียบกับสินค้าที่อยู่หน้าร้าน ตลาดที่ยังไม่ขยายใหญ่มาก ให้กับลูกค้ารายบุคคลได้เช่นกัน
รวมถึงคู่แข่งที่ยังมีน้อยรายนั้น อาจจะไม่เพียงพอในการรับมือกับการแข่งขันที่สูงขึ้นในปัจจุบันและอนาคต แต่อาจจะมีสินค้าบางกลุ่ม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า
เพราะด้วยตลาดออนไลน์ช็อปปิ้งที่มีแนวโน้มขยายใหญ่ขึ้น คู่แข่งมีมากขึ้น โดยเฉพาะการเข้ามาของผู้ประกอบการ อุปกรณ์ทางด้านไอที ซึ่งผู้ประกอบการค้าปลีก
รายใหญ่ รวมไปจนถึงผู้ผลิตสินค้า หรือแม้แต่พฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ความภักดีในแบรนด์ รายย่อยส่วนใหญ่ไม่สามารถผลิตสินค้าได้เอง
หรือสินค้าน้อยลง กลายเป็นว่ารูปแบบการขายเดิมๆ อาจจะไม่สามารถดึงกลุ่มลูกค้าไว้ได้อีกต่อไป เพราะลูกค้า จะเป็นลักษณะของตัวแทนจ�าหน่ายหรือซื้อมาขายไป
มากกว่า ดังนั้น เพื่อไม่ให้ราคาเป็นตัวก�าหนด
มีทางเลือกในการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์มากขึ้น
การตัดสินใจซื้อสินค้าของลูกค้าเพียงอย่างเดียว
ผู้ประกอบการค้าปลีกรายย่อยสินค้ากลุ่มนี้จะต้อง
สร้างการให้บริการเพิ่มขึ้น โดยเน้นไปที่ความจริงใจ
และการเอาใจใส่ต่อลูกค้า เช่น การดูแลลูกค้า
ทั้งก่อนและหลังการขาย การให้ค�าแนะน�าใน
การเลือกซื้อสินค้าที่ตรงวัตถุประสงค์การใช้งานกับ
ลูกค้ามากที่สุดและจริงใจที่สุด ค�าแนะน�าในการ-
ใช้งานและดูแลรักษาสินค้า รวมถึงการบริการจัดส่ง
ฟรีทุกรายการ โดยไม่มียอดการสั่งซื้อขั้นต�่า เป็นต้น
แต่ท้ายที่สุด ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ด้วย
สภาพตลาดออนไลน์ช็อปปิ้งที่แข่งขันกันรุนแรงขึ้น
อย่างต่อเนื่อง การปรับตัวของผู้ประกอบการ
ค้าปลีกรายย่อยไม่ควรหยุดนิ่งเพียงเท่านี้
ผู้ประกอบการต้องพยายามปรับตัวให้ตอบโจทย์
ความต้องการของลูกค้าในแต่ละรายที่เปลี่ยนแปลง
อยู่เสมอ โดยการปรับตัวดังกล่าวอาจจะเริ่มจาก
การปรับตัวเล็กๆ (แบบที่ไม่มีต้นทุน หรือมี
ท�ำอย่ำงไร? ให้ธุรกิจยังคงอยู่รอดท่ำมกลำงกำรแข่งขันที่สูงขึ้น กลำยเป็นโจทย์ท้ำทำยที่ผู้ประกอบกำร น้อยที่สุด) หรือเริ่มต้นจากสิ่งที่ตนเองถนัดก่อน เพื่อ
ค้ำปลีกรำยย่อยต้องเร่งปรับตัว ให้ลูกค้าเกิดความรู้สึกพิเศษต่อสินค้าหรือแบรนด์
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ผู้ประกอบการค้าปลีกรายย่อยที่อยู่รอด คือ “คนที่คิดต่าง ท�าต่าง” โดยในอดีตมัก หรือรู้สึกแตกต่างจากคู่แข่งรายอื่นๆ หลังจากนั้น
จะเน้นที่ความแตกต่างด้านสินค้าและราคา เช่น ความแตกต่างทางด้านการใช้งาน บรรจุภัณฑ์ และเรื่องเล่าหรือ เมื่อธุรกิจเริ่มแข็งแกร่งขึ้น ก็ค่อยขยับขยายไป
ที่มาในตัวสินค้า เป็นต้น แต่ปัจจุบันการสร้างความแตกต่างดังกล่าวอาจจะไม่เพียงพอ เนื่องจากผู้บริโภคต้องการ สู่การให้บริการเสริมอื่นๆ ในสเกลที่ใหญ่ขึ้น
ความแปลกใหม่ทางด้านประสบการณ์มากขึ้น เช่น ประสบการณ์ในการเป็นคนแรกที่ได้สัมผัสหรือเป็นเจ้าของสินค้า
ประสบการณ์การรับรู้ทางด้านอารมณ์หรือความรู้สึกที่มีต่อสินค้า เป็นต้น ข้อมูลเพิ่มเติม
ดังนั้น การปรับตัวของผู้ประกอบการค้าปลีกรายย่อยที่น่าจะตรงใจผู้บริโภคมากที่สุด คือ การใช้กลยุทธ์สร้าง 1 ส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ETDA)
ประสบการณ์ที่พึงพอใจและท�าให้เกิดความประทับใจแก่ลูกค้าในแต่ละราย (Customized experience) จนท�าให้ 2 ค�านวณเฉพาะ B2C-Commerce ในกลุ่มสินค้าอุปโภค
เกิดการจดจ�าแบรนด์ และอยากใช้บริการอย่างต่อเนื่อง และอาจเกิดการบอกเล่าความประทับใจให้กับคนรอบข้าง บริโภค ปี 2560 (ไม่รวมบริการ) โดยอาศัยฐานข้อมูลจาก
ส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ETDA)
หรือคนอื่นๆ ผ่านการแชร์ข้อมูลหรือประสบการณ์ที่ได้รับมาจากการซื้อสินค้าออนไลน์บนโซเชียลมีเดียต่างๆ 3 ค�านวณเฉพาะสินค้าอุปโภคบริโภค (Consumer
products)
32 FOOD FOCUS THAILAND APR 2018
30-34_Special Focus_Online Shoping.indd 32 20/3/2561 BE 17:40