Page 32 - 146
P. 32
SPECIAL FOCUS
SPECIAL FOCUS
ศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ส�านักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
AEC Business Support Center
Thai Trade Center at Kuala Lumpur, Malaysia
กฎระเบียบเกี่ยวกับการน�าเข้าและส่งออกของ
ประเทศมาเลเซีย
ขั้นตอนการน�าเข้าสินค้าของมาเลเซีย และลักษณะของสินค้า และบรรจุหีบห่อ มูลค่า น�้าหนัก ปริมาณหรือหน่วยวัด
กรมศุลกากรและกรมสรรพสามิตของมาเลเซียเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ แหล่งก�าเนิดสินค้า จุดหมายปลายทางของสินค้า โดยจะต้องยื่นแบบฟอร์ม
ในการเก็บภาษีทางอ้อม เช่น ภาษีศุลกากร (ภาษีน�าเข้าและส่งออก) ภาษี- ดังกล่าวแก่ด่านศุลกากรที่สินค้านั้นถูกน�าเข้ามา
สรรพสามิต ภาษีการขาย ภาษีบริการ ภาษีรถยนต์ รวมทั้งควบคุมการส่งสินค้า ผู้น�าเข้าสามารถให้เอเย่นต์เป็นผู้ด�าเนินการการผ่านพิธีการศุลกากร
และสิ่งของที่เข้ามายังมาเลเซียหรือส่งออกจากมาเลเซีย กฎหมาย Customs Act ให้ได้ โดยเอเย่นต์นั้นต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมศุลกากร ทั้งนี้ สินค้า
1967 ใช้บังคับและควบคุมการห้ามน�าเข้าและส่งออกสินค้าตามกฎหมาย/ น�าเข้าจะต้องเสียภาษีต่างๆ เช่น ภาษีน�าเข้า ภาษีการขาย ก่อนที่สินค้านั้นจะ
ระเบียบของหน่วยงานต่างๆ มากกว่า 30 ฉบับ ถูกปล่อยออกมา
กรมศุลกากรและกรมสรรพสามิตจะร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้ง
หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการออกใบอนุญาตส�าหรับการน�าเข้าสินค้า เอกสารที่กรมศุลกากรของมาเลเซียก�าหนด
ได้แก่ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ผลิตภัณฑ์อาหาร • แบบฟอร์ม Customs Entry
เพื่อสุขภาพ เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช • หลักฐานแสดงสิทธิ์ในการเข้าเมือง เช่น Bill of landing
สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก • Commercial invoice หรือ Pro-forma invoice
สินค้าน�าเข้าที่ส่งมาถึงมาเลเซียทั้งภาคพื้นดินและด่านศุลกากรที่ • Packing list
ท่าอากาศยานจะต้องแจ้ง (Declare) เป็นลายลักษณ์อักษรโดยกรอบแบบฟอร์ม • เอกสารอื่นๆ เช่น ใบรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า
Customs No.1 ไม่ว่าสินค้านั้นจะเสียภาษีน�าเข้าหรือไม่ โดยจะต้องแจ้งจ�านวน
28 28 FOOD FOCUS THAILAND MAY 2018AY 2018
FOOD FOCUS THAILAND M