Page 34 - 146
P. 34
SPECIAL FOCUS
ข้อก�าหนดเกี่ยวกับฉลาก
อาหารที่ผลิต ถูกเตรียม หรือถูกบรรจุหีบห่อในมาเลเซีย จะใช้ภาษามาเลย์
บนฉลาก กรณีเป็นสินค้าน�าเข้าอาจจะใช้ภาษามาเลย์หรือภาษาอังกฤษ
และไม่ว่าจะใช้ภาษาใดก็อาจจะรวมถึงการแปลเป็นภาษาอื่น
อาหารที่ก�าหนดให้ระบุวันหมดอายุ/ระยะเวลาการบริโภค เช่น บิสกิต
ขนมปัง อาหารกระป๋องส�าหรับทารกและเด็ก ซีเรียลช็อกโกแลต
สัตว์มีชีวิตและสัตว์ปีก
กรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานบังคับใช้กฎเกณฑ์ Animal Rules 1962 เกี่ยวกับ ช็อกโกแลตขาว ช็อกโกแลตนม ครีมถั่ว นมมะพร้าว ผงมะพร้าว ไขมัน
การน�าสัตว์มีชีวิตหรือสัตว์ปีกเข้ามายังมาเลเซีย กฎระเบียบ Animal Ordinance อาหารพลังงานต�่า ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ นมและผลิตภัณฑ์จากนม เครื่องดื่ม
1953, Animal Rules 1962, Animal Importation Order 1962 และ Federal น�้าผลไม้ น�้าผัก เนยถั่ว ซอส เป็นต้น
Animals Quarantine Station (Management and Maintenance) By-Law 1984
ใช้บังคับและก�าหนดเงื่อนไข เช่น ใบอนุญาตน�าเข้า ใบรับรองสุขอนามัย ตัวอย่างกฎระเบียบสินค้าบางประเภทของมาเลเซีย
ซึ่งใช้ส�าหรับการน�าเข้าสัตว์มีชีวิตหรือสัตว์ปีกเข้ามายังมาเลเซีย • กฎระเบียบเกี่ยวกับการคัดแยก (Grading) การบรรจุภัณฑ์
(Packaging) และการติดฉลาก (Labeling) ผลผลิตทางการเกษตร
สหพันธ์การตลาดเพื่อการเกษตรกรรม (Federal Agricultural Marketing
เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก (ยกเว้นเนื้อหมู)
กรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการสร้างความมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ Authority; FAMA) ได้ออกกฎระเบียบเกี่ยวกับการคัดเกรด (Grading)
จากแหล่งก�าเนิดของสัตว์เพื่อการบริโภคของมนุษย์ถูกสุขอนามัย ปลอดภัย การบรรจุภัณฑ์ (Packaging) และการติดฉลาก (Labeling) หรือที่เรียกว่า
และเป็นประโยชน์ต่อการบริโภค Control of Slaughter Rules 1975 GPL Regulations โดยก�าหนดให้ผู้ส่งออก ผู้น�าเข้า ผู้ค้าส่ง และผู้ค้าปลีก
ก�าหนดให้เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่น�าเข้ามายังมาเลเซียต้อง ผลผลิตทางการเกษตรที่วางตลาดในมาเลเซียปฏิบัติตามกฎระเบียบดังกล่าว
ได้รับการรับรองฮาลาลและผลิตภัณฑ์ต้องเริ่มจากโรงเชือดสัตว์ที่ได้รับการ- ก่อนที่จะน�าผลผลิตทางการเกษตรวางในตลาดมาเลเซีย GPL ใช้บังคับผลผลิต
ตรวจสอบและรับรองจาก JAKIM (Islamic Development Foundation of ทางการเกษตร ประกอบด้วย ผัก (73 ชนิด เช่น หน่อไม้ฝรั่ง หอมหัวใหญ่
Malaysia) นอกเหนือจากการรับรองพืชส�าหรับการส่งออกฮาลาลแล้ว JAKIM บรอกโคลี เห็ด พริก ขิง ข้าวโพด ถั่วฝักยาว กะหล�่าปลี ดอกกะหล�่า ฟักทอง
จะอนุมัติและแต่งตั้ง Islamic Center เพื่อติดตามและตรวจสอบสถานะ แครอท หอมแดง มะเขือเทศ มันฝรั่ง ตะไคร้ แตงกวา เป็นต้น) ผลไม้
“ฮาลาล” ของพืชที่ได้รับการรับรอง และออกใบรับรองฮาลาลส�าหรับการส่งออก (56 ชนิด เช่น องุ่น แอพริคอต อะโวคาโด มะละกอ เชอร์รี ทุเรียน แอปเปิล
ทั้งหมด ฝรั่ง กีวี อินทผาลัม ลางสาด ส้ม ลิ้นจี่ ขนุน มังคุด ลูกแพร์ พีช พลัม เงาะ
สตรอว์เบอร์รี แตงโม เป็นต้น) ดอกไม้ (6 ชนิด เช่น ดอกเก็กฮวย กล้วยไม้
กุหลาบ ดอกคาร์เนชัน เป็นต้น) ถั่ว (2 ชนิด ได้แก่ เมล็ดถั่วลิสง ถั่วลิสงสด
ผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารทางการแพทย์
ผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารทางการแพทย์ทุกชนิดจ�าเป็นต้องถูกจ�าแนก ทั้งเปลือก) ล�าอ้อย มะพร้าว และธัญพืช (เมล็ดกาแฟ)
โดยหน่วยงาน National Pharmaceutical Control Bureau (NPCB) โดยภายใต้
กฎหมาย Dangerous Drugs Act 1952, Control of Drugs and Cosmetic ขั้นตอนการยื่นขอตราฮาลาลของมาเลเซีย
Regulations 1984 NPCB จะเป็นผู้ตัดสินว่าผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารทาง สินค้าไทยที่ส่งออกมาวางจ�าหน่ายในตลาดมาเลเซียควรมีเครื่องหมาย
การแพทย์จ�าเป็นต้องถูกขึ้นทะเบียนหรือไม่ ฮาลาลที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ใบอนุญาตน�าเข้าอาจเป็นสิ่งจ�าเป็นและออกโดย Compliance Unit ทั้งนี้ ซึ่งได้รับการยอมรับจากหน่วยงาน JAKIM (Department of Islamic
ในการจดทะเบียนกับ NPCB ผู้ส่งออกหรือผู้จัดจ�าหน่ายที่ถูกแต่งตั้งจ�าเป็น Development Malaysia) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ให้การรับรองฮาลาลของ
ต้องแจ้ง NPCB เกี่ยวกับชื่อผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบและสัดส่วนส่วนประกอบ มาเลเซียแล้ว อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการต่างประเทศสามารถขอใบรับรอง
การใช้/ข้อมูลอ้างอิง พร้อมทั้งแนบส�าเนาของฉลาก/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ฮาลาลจาก JAKIM ได้ แต่จะยื่นสมัครได้เฉพาะผลิตภัณฑ์อาหารและ
รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อกับ National Pharmaceutical Control เครื่องส�าอางเท่านั้น
Bureau, Ministry of Health, Malaysia หรือ www.bpfk.gov.my
30 FOOD FOCUS THAILAND MAY 2018