Page 32 - 153
P. 32

SMART PRODUCTI
             SMART PRODUCTIONON






















             เลาะก้างออกก่อนการบรรจุกระป๋อง เนื่องจากทูน่าต้องไปจับในน่านน�้าที่ไกลออกไป   การเก็บรักษามีช่วงตั้งแต่ 2-3 สัปดาห์ ไปจนถึงเกือบ 1 ปี
             ต้องผ่านการแช่เยือกแข็ง และใช้เวลานานกว่าที่จะขนส่งเข้าสู่โรงงานบรรจุกระป๋อง   • การควบคุมค่าวอเตอร์แอคทิวิตี: การลดค่าวอเตอร์แอคทิวิตี (a ) จะช่วย
                                                                                                                    w
             ซึ่งในช่วงระยะเวลานี้กรดไขมันไม่อิ่มตัวจะถูกออกซิไดซ์ ท�าให้ทูน่ามีกลิ่นหืน การน�า  ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และชะลอปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ที่อาจส่งผลให้
             ไปผ่านความร้อนก่อนในเบื้องต้นจะช่วยก�าจัดกลิ่นหืนออกไป ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมี  คุณภาพของผลิตภัณฑ์แช่เยือกแข็งลดลง การควบคุมค่า a  สามารถท�าได้โดย
                                                                                                             w
             การเลาะก้างออก เพื่อช่วยให้ขั้นตอนการเตรียมก่อนน�าไปบรรจุกระป๋องนั้นง่ายขึ้น  การอบแห้ง การเติมวัตถุเจือปนอาหาร หรือใช้ 2 วิธีร่วมกัน
                • การแช่เยือกแข็ง: ในบรรดาวิธีการแปรรูปสัตว์น�้า มีเพียงการแช่เยือกแข็ง           - การอบแห้ง: หลักการคือการระเหยน�้าออกจากตัวสัตว์น�้าโดยใช้ลมร้อน
             ที่สามารถช่วยรักษากลิ่นและคุณภาพความสดของสัตว์น�้าได้ การแช่เยือกแข็งช่วย  การท�าแห้งแบบสุญญากาศ หรือการท�าแห้งแบบแช่เยือกแข็งในสภาวะ
             ลดปฏิกิริยาทางชีวเคมีในเนื้อสัตว์น�้าได้อย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น เมื่อโมเลกุลของ  สุญญากาศ วิธีเหล่านี้เป็นการใช้ความร้อนมาดึงน�้าออกจากตัวสัตว์น�้า ในช่วงแรก
             น�้าอิสระหายไป เอนไซม์จะไม่สามารถท�าปฏิกิริยาที่จะส่งผลให้เนื้อของสัตว์น�้ามี  ของการอบแห้งซึ่งเป็นช่วงอัตราคงที่ (Constant-rate period) น�้าจะระเหยออก
             ความอ่อนนุ่มหรือเสื่อมสภาพได้ การแช่เยือกแข็งสามารถแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่   จากบริเวณพื้นผิวของตัวสัตว์น�้า และอุณหภูมิของสัตว์น�้าจะคงที่ ในช่วงท้ายของ
             การลดอุณหภูมิลงอย่างทันทีและคงอุณหภูมินั้นไว้ การแช่เยือกแข็งอย่างรวดเร็ว   การอบแห้ง เรียกว่า Falling-rate period อุณหภูมิของสัตว์น�้าจะสูงขึ้น ท�าให้น�้า
             และการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต�่า ถ้าหากการแช่เยือกแข็งไม่เหมาะสมจะท�าให้  ที่อยู่ภายในเคลื่อนตัวมาที่บริเวณพื้นผิว และระเหยออกไป
             โครงสร้างของสัตว์น�้าสูญเสีย เกิดการเสื่อมสภาพเนื่องจากเอนไซม์ เนื้อสัมผัส  - การหมัก: การหมักเป็นการลดค่า a  โดยการเติมเกลือ น�้าตาล หรือกรด
                                                                                                  w
             เปลี่ยนแปลงไป และสูญเสียน�้า                             การหมักด้วยเกลือที่ใช้กันในอุตสาหกรรมสัตว์น�้า คือ การหมักด้วยเกลือแบบแห้ง
                - การลดอุณหภูมิลงอย่างทันที: เป็นการลดอุณหภูมิของสัตว์น�้าลงอย่าง  และการดองในน�้าเกลือ วิธีหมักด้วยเกลือแบบแห้ง เนื้อปลาจะถูกแล่ไปตามแนว
             รวดเร็ว และคงอุณหภูมิไว้ในช่วง 2  �C ถึง -2  �C (36  �F ถึง 28  �F) หลังจากที่สัตว์น�้า  ก้างและโปะด้วยเกลือ (Wet stack) ส่วนของน�้าที่เกิดขึ้นจะถูกระบายออกจนกระทั่ง
             ถูกจับขึ้นมาใหม่ๆ                                        ปริมาณน�้าในเนื้อปลาลดลงประมาณร้อยละ 50 (โดยทั่วไปสัตว์น�้าจะมีปริมาณน�้า
                - การแช่เยือกแข็งแบบรวดเร็ว: ขั้นตอนนี้ต้องลดอุณหภูมิของสัตว์น�้าให้อยู่  อยู่ร้อยละ 75-80) และได้ปริมาณเกลือร้อยละ 25 ส�าหรับกระบวนการหมักด้วย
             ในช่วง -2  �C ถึง -7  �C (28  �F ถึง 20  �F) อย่างรวดเร็ว ในช่วงอุณหภูมินี้ผลึกน�้าแข็ง  เกลือแบบเข้มข้นจะมีขั้นตอนใช้ลมอุ่นๆ ผ่านเหนือพื้นผิวของเนื้อปลาจนปริมาณ
             สามารถเกิดภายในเซลล์ของเนื้อเยื่อสัตว์น�้าได้มากที่สุด ถ้าหากน�้าภายในเซลล์  น�้าในตัวปลาลดลงจนถึงประมาณร้อยละ 20 และปริมาณเกลือเพิ่มขึ้นเป็น
             สามารถถูกแช่เยือกแข็งได้รวดเร็วจะท�าให้เกิดผลึกน�้าแข็งขนาดเล็ก ส่งผลให้เซลล์  ประมาณร้อยละ 30 ผลิตภัณฑ์หมักเกลือรูปแบบนี้มักจะบริโภคในประเทศที่มี
             เสียหายน้อย สัตว์น�้าที่ลดอุณหภูมิลงมาให้อยู่ในช่วงนี้ได้ภายใน 1 ชั่วโมงจะมี                สภาพอากาศอบอุ่น ชื้น
             การสูญเสียน�้าระหว่างการละลายน�้าแข็ง (Drip loss) น้อยมาก   ส่วนวิธีการดองในน�้าเกลือจะเป็นการหมักสัตว์น�้าด้วยน�้าเกลือที่มีความเข้มข้น
                - การเก็บรักษาในสภาวะอุณหภูมิต�่า: เมื่อผ่านขั้นตอนการแช่เยือกแข็งแล้ว  ในถังที่ปิดสนิท มักใช้กับปลาที่มีไขมัน เช่น เฮอร์ริง
             จะต้องเก็บ   รักษาที่อุณหภูมิคงที่ประมาณ -23  �C (-10  �F) หรือต�่ากว่า เพื่อให้สัตว์  - การรมควัน: การรมควันเป็นการผสมผสานของการอบแห้งและการรมให้
             น�้ามีอายุการเก็บรักษายาวนานและมั่นใจได้ในคุณภาพ สัตว์น�้ามีน�้าเป็นองค์ประกอบ   ควันเข้าไปสู่ตัวสัตว์น�้า ซึ่งจะช่วยถนอมอาหารและให้กลิ่นรสกับผลิตภัณฑ์ที่ได้
             ส่วนใหญ่ (หอยนางรมมีน�้าเป็นองค์ประกอบมากกว่าร้อยละ 80) และในน�้านั้นจะมี  อย่างไรก็ตาม การรมควันทุกวันนี้มักใช้เวลาเพียงเล็กน้อย แค่ให้ได้กลิ่นรมควัน
             สารต่างๆ อยู่มากมาย ท�าให้เวลาน�าไปแช่เยือกแข็ง น�้าที่มีอยู่ในสัตว์น�้าจึงไม่ถูก          เท่าที่ต้องการก็พอ ผลิตภัณฑ์เหล่านี้เรียกว่า Kippered fish มีอายุการเก็บรักษา
             แช่เยือกแข็งที่จุดเยือกแข็งของน�้าบริสุทธิ์ แต่จะเริ่มแข็งตัวที่ช่วงอุณหภูมิกว้าง               ที่สั้น แม้ว่าจะเก็บในอุณหภูมิตู้เย็น เนื่องจากค่า a  ยังคงสูงพอที่เชื้อจุลินทรีย์
                                                                                                       w
             เริ่มตั้งแต่ประมาณ -2  �C (28  �F) ปริมาณน�้าอิสระที่เหลืออยู่จะลดลงจนกระทั่ง           ที่ท�าให้อาหารเน่าเสียจะเจริญเติบโตได้
             สัตว์น�้าถูกลดอุณหภูมิลงถึง -40  �C สัตว์น�้าที่ผ่านการแช่เยือกแข็งแล้วจะถูกเก็บรักษา    กระบวนการรมควัน ประกอบด้วยขั้นตอนการแช่ปลาในสารละลายเกลือเข้มข้น
             ที่อุณหภูมิต�่ากว่านั้น และน�าไปบรรจุ เพื่อไม่ให้เกิดการระเหิดและสูญเสียน�้า และ  ร้อยละ 70-80 เป็นเวลา 2-3 ชั่วโมง หรือค้างคืน ซึ่งจะท�าให้มีปริมาณเกลือใน
             สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน อย่างไรก็ตาม ตู้แช่ที่สามารถเก็บรักษาสัตว์น�้าแช่เยือก  เนื้อปลาร้อยละ 2-3 จากนั้นวางเนื้อปลาบนชั้นวาง ท�าให้แห้งบางส่วน เมื่อ
             แข็งที่อุณหภูมิ -40  �C นั้นมีอยู่ไม่มาก เพราะต้องสิ้นเปลืองพลังงานมาก สัตว์น�้า            สารละลายเกลือที่อยู่บนพื้นผิวของเนื้อปลาแห้ง โปรตีนที่ละลายจะท�าให้เกิด
             แช่เยือกแข็งจึงมักถูกเก็บรักษาที่ -18  �C ถึง -29  �C  (0  �F ถึง -20  �F) ท�าให้อายุ          ลักษณะเงาเคลือบบริเวณพื้นผิวซึ่งเป็นลักษณะที่ดี

             32  FOOD FOCUS THAILAND  DEC 2018


         30-36_Smart Procudtion_Seafood.indd   32                                                                   20/11/2561 BE   18:32
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37