Page 41 - FoodFocusThailand No.157 April 2019
P. 41
STRONG QC & QA
สารก่อภูมิแพ้และต้องไม่น�าไปปนกับสินค้าชนิดอื่นที่ สารก่อให้เกิดภูมิแพ้
ไม่มีสารก่อภูมิแพ้ หรือไม่น�าไปปนกับสารก่อภูมิแพ้ • ข้อก�าหนดส�าหรับการท�าความสะอาดมือ
ต่างชนิดเดียวกัน • เสื้ออุปกรณ์สวมใส่เพื่อการป้องกันและการซักท�าความสะอาด
5. มีการท�าความสะอาดในระดับที่สามารถก�าจัด • ขั้นตอนการปฏิบัติกรณีการท�าซ�้า
สารก่อภูมิแพ้ไม่ให้หลงเหลือ และต้องได้รับการพิสูจน์ • การจัดการของเสีย
ยืนยัน รวมถึงมีการทวนสอบวิธีการท�าความสะอาด • ขั้นตอนการท�าความสะอาด
รวมทั้งมีเครื่องมือ/วิธีการที่จะใช้ทดสอบความหลงเหลือ • กระบวนการคัดแยกอุปกรณ์
อยู่ของสารก่อภูมิแพ้ อาจใช้ชุดทดสอบ (Test kit) หรือ • การเข้าถึงและการเคลื่อนย้ายของพนักงานโดยรอบพื้นที่
ส่งตรวจในห้องปฏิบัติการ • การเคลื่อนย้ายของเครื่องมือและอุปกรณ์โดยรอบพื้นที่โรงงาน
6. มีฉลากระบุส่วนประกอบที่เป็นสารก่อภูมิแพ้
หรือระบุ “อาจมีส่วนผสมของ... (สารก่อภูมิแพ้) โดย
ต้องเป็นไปตามกฎหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบและ
เลือกรับประทาน หรือเลือกน�าไปใช้ได้อย่างปลอดภัย
7. เมื่อสามารถรู้ว่าสารก่อภูมิแพ้ที่มีอยู่มีอะไรบ้าง
เราจะสามารถควบคุมสารก่อภูมิแพ้ใหม่ๆ ได้ โดย
คัดเลือกวัตถุดิบใหม่ สูตรใหม่ ส่วนผสมใหม่อย่าง
ระมัดระวัง
8. ควรจัดท�าเกณฑ์และวิธีการในการควบคุม
ส่วนผสม สารปรุงแต่งที่รับเข้า ส่วนงานพัฒนา
ผลิตภัณฑ์มีหน้าที่ในการควบคุมการเพิ่มขึ้นของสาร-
ก่อภูมิแพ้รายการใหม่ๆ ที่มีการน�ามาใช้ โดยผู้พัฒนา
ผลิตภัณฑ์และเจ้าหน้าที่จัดซื้อต้องมีความตระหนักใน
เรื่องโอกาสการเกิดการปนเปื้อนข้ามระหว่างการผลิต
เมื่อมีการปรับส่วนผสมหรือเปลี่ยนแปลงปรับปรุง
ผลิตภัณฑ์ โดยการทบทวนรายการสารก่อภูมิแพ้
ที่ผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์และเจ้าหน้าที่จัดซื้อต้องทราบ
รายการส่วนผสมที่เป็นสารก่อภูมิแพ้ (Master List of
Allergic Ingredients) ในสถานประกอบการ เพื่อ
ป้องกันการน�าเข้าสารก่อภูมิแพ้ใหม่ๆ โดยไม่เจตนา
หากในกรณีที่มีวัตถุดิบใหม่ต้องแจ้งการเปลี่ยนแปลงนี้
ให้กับพนักงานที่เกี่ยวข้องทราบ
9. พนักงานที่เกี่ยวข้องต้องรับทราบความส�าคัญ
ของการควบคุมอาหารก่อภูมิแพ้ โดยควรมีการอบรม
เพื่อสร้างความตะหนักในการควบคุมอาหารที่ก่อ
ภูมิแพ้ ดังนี้
• วิธีการป้องกันการปนเปื้อนข้าม
• วิธีการแจ้งให้ผู้บริหารทราบในประเด็นที่
เกี่ยวข้องกับสารก่อภูมิแพ้ระหว่างการผลิต
• ขั้นตอนปฏิบัติในการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
• ชี้บ่งสถานการณ์ที่มีโอกาสที่สารก่อภูมิแพ้
จะปนเปื้อนข้าม
• การชี้บ่งพื้นที่ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีสารก่อ
ภูมิแพ้ รหัสสี การติดแท็กบ่งชี้
• ขั้นตอนวิธีการควบคุมฉลาก
• การจัดท�าแผนการผลิต
• การสื่อสารว่าส่วนผสมตัวใดที่ต้องค�านึงถึง
APR 2019 FOOD FOCUS THAILAND 41
40-43_Strong QC&QA_BSI.indd 41 21/3/2562 BE 11:42