Page 40 - FoodFocusThailand No.157 April 2019
P. 40

STRONG QC & QA


















                                                                                                  สุภารัตน์ เจียมทอง
                                                  การควบคุมอาหาร                                  Supharat Jiamtong

                                                                                                  Client Manager
                                                  ก่อภูมิแพ้                                      British Standards Institution (BSI)
                                                                                                  Supharat.Jiamtong@bsigroup.com

                                                  ในอุตสาหกรรมอาหาร




















            สารก่อภูมิแพ้ทางอาหาร (Food allergen) หมายถึง อาหารที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ ส�าหรับบางคนที่มีภาวะเป็นโรคแพ้อาหาร ซึ่งเมื่อ
            รับประทานอาหารที่ก่อภูมิแพ้เข้าไปแล้วจะท�าให้ร่างกายเกิดอาการไม่พึงประสงค์ (Adverse Food Reaction; AFR) โดยแบ่ง

            ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน แบ่งเป็น lgE Mediated Reaction เช่น อาการแพ้ถั่วลิสงที่เกิดขึ้นภายใน
            1 นาทีหลังจากกินเข้าไป และ Non lgE Mediated Reaction ซึ่งส่วนใหญ่จะเกิดภายในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง และอีกหนึ่งกลุ่มคือ
            Food Intolerances ไม่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน เช่น Lactose intolerances โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ Toxic Reaction
            เช่น อาหารเป็นพิษ หรือได้รับพิษจากปลา และ Non-toxic Reaction เช่น แพ้นม (Lactose intolerances)




               ในปัจจุบันการระบุอาหารที่ก่อภูมิแพ้บนฉลากสินค้ามีความส�าคัญต่อผู้บริโภค  มาตรฐานก็จะระบุข้อก�าหนดที่โรงงานจะต้องปฏิบัติ ดังนี้
            มากขึ้นทุกขณะเนื่องจากอาหารในปัจจุบันมีส่วนผสมที่มีความหลากหลาย               1. ชี้บ่งสารก่อภูมิแพ้ในโรงงานว่าวัตถุดิบชนิดใดบ้างที่เป็นสารก่อภูมิแพ้
            มากขึ้น ซึ่งอาจมีส่วนผสมของอาหารก่อภูมิแพ้ร่วมด้วย ผู้บริโภค รวมทั้งภาครัฐ  รวมถึงต้องทราบว่าอาหารที่ผลิตเป็นสินค้าส�าเร็จรูปแล้วนั้นเป็นสารก่อภูมิแพ้
            ของประเทศต่างๆ จึงหันมาให้ความสนใจในการควบคุม รวมทั้งออกกฎระเบียบ  หรือไม่ หรือใช้วัตถุดิบใดที่เป็นสารก่อภูมิแพ้บ้าง
            ส�าหรับการให้ข้อมูลบนฉลากแก่ผู้บริโภคให้สามารถเลือกซื้ออาหารที่ไม่ก่อให้เกิด  2. แยกพื้นที่เพื่อจัดเก็บวัตถุดิบที่เป็นสารก่อภูมิแพ้ออกจากวัตถุดิบปกติ
            อาการแพ้ต่อสุขภาพของตนเอง และเนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาอาการ  หรือมีมาตรการรองรับเพื่อป้องกันการปนเปื้อนข้ามของวัตถุดิบ เช่น แยกพื้นที่
            แพ้อาหาร แต่เป็นเพียงการรักษาเพื่อบรรเทาอาการแพ้ตามกรณีที่พบ รวมทั้ง                การผลิต แยกเครื่องจักรที่ใช้ผลิต รวมทั้งมีการชี้บ่งอุปกรณ์ที่ใช้ระหว่างสารก่อ
            ผู้บริโภคต้องหลีกเลี่ยงอาหารนั้นๆ ด้วยตัวเอง            ภูมิแพ้และอาหารปกติอย่างชัดเจน เพื่อไม่ให้ผู้ปฏิบัติงานน�าไปใช้ปะปนกัน
               แนวทางการจัดการหรือควบคุมอาหารก่อภูมิแพ้ในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อ  3. กรณีที่จ�าเป็นต้องใช้พื้นที่หรือเครื่องจักรเดียวกัน ควรจัดล�าดับ
            ไม่ให้ผู้บริโภคเกิดอันตรายหรือมีการปนเปื้อนโดยไม่ตั้งใจเกิดขึ้น สามารถท�าได้  ในการผลิตเพื่อลดโอกาสการปนเปื้อนของบางสินค้าที่ไม่มีสารก่อภูมิแพ้
            หลายวิธีโดยโรงงานผู้ผลิตจะต้องมีมาตรการควบคุมและจัดการอาหารก่อภูมิแพ้  เป็นส่วนประกอบให้ผลิตเป็นล�าดับแรกๆ แล้วจึงผลิตสินค้าที่มีส่วนประกอบ
            เพื่อป้องกันและลดอันตรายที่อาจจะไปถึงผู้บริโภค ซึ่งปัจจุบันมาตรฐานที่นิยม          ของสารก่อภูมิแพ้เป็นล�าดับถัดไป
            น�าไปประยุกต์ใช้ ได้แก่ BRC food, FSSC 22000, ISO 22000 เป็นต้น ซึ่งในแต่ละ  4. กรณีมีการน�าสินค้ามา Rework ต้องทราบว่าในสินค้านั้นมีอะไรเป็น

             40 FOOD FOCUS THAILAND  APR  2019


         40-43_Strong QC&QA_BSI.indd   40                                                                            18/3/2562 BE   20:06
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45