Page 44 - FoodFocusThailand No.157 April 2019
P. 44

STRATEGIC R & D


                                                                                          ดร.สุวิมล เจริญสิทธิ์
                                                                                          Suvimol Charoensiddhi, Ph.D.
                                                                                          Department of Food Science and Technology
                                                                                          Faculty of Agro-Industry
                                                                                          Kasetsart University
                                                                                          suvimol.ch@ku.ac.th
                                                                                สารผสมอาหาร


                                                    ที่มีหน้าที่เฉพาะจากสาหร่าย:


                                                               ประโยชน์ต่อสุขภาพล�าไส้











            สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากสาหร่ายและศักยภาพ
            ในการเป็นอาหารที่มีหน้าที่เฉพาะ
            สาหร่าย (Seaweed) เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่สังเคราะห์แสงได้และมีความหลากหลาย
            สูง พบในธรรมชาติทั่วท้องทะเลและมหาสมุทรของโลก สามารถจัดประเภทได้
            แตกต่างกันตามระบบการจัดชั้นและหมวดหมู่พืชและสัตว์ โดยขึ้นอยู่กับรงควัตถุ
            ได้แก่ สาหร่ายสีแดง (Rhodophyceae)  สาหร่ายสีเขียว (Chlorophyceae) และ
            สาหร่ายสีน�้าตาล (Phaeophyceae) ข้อมูลในปี 2559 จากองค์การอาหารและ
            การเกษตรแห่งสหประชาชาติระบุว่า ปัจจุบันการเพาะเลี้ยงสาหร่ายนั้นเติบโตขึ้น  ในระบบทางเดินอาหาร (2) ย่อยและหมักพรีไบโอติกโดยจุลินทรีย์ในล�าไส้ใหญ่
            อย่างรวดเร็ว โดยมีการเพาะเลี้ยงในกว่า 50 ประเทศ ทั้งนี้ ในปี 2557 มีผลผลิต  ได้ และ (3) กระตุ้นหรือเร่งการเติบโต และ/หรือ กิจกรรมต่างๆ ของจุลินทรีย์ภายใน
            สาหร่ายและ Algae ประเภทอื่นๆ ประมาณ 28.5 ล้านตัน เพื่อใช้บริโภคโดยตรง   ล�าไส้ใหญ่อย่างเฉพาะเจาะจง ส่งผลให้เกิดประโยชน์เชิงสุขภาพ ในปี 2559
            หรือน�าไปเป็นวัตถุดิบตั้งต้นส�าหรับการผลิตอาหาร ไฮโดรคอลลอยด์ ปุ๋ย และ                  พรีไบโอติกมีมูลค่าตลาดทั่วโลกมากกว่า 3.34 พันล้านเหรียญสหรัฐ และมีแนวโน้ม
            จุดประสงค์อื่นๆ                                         เติบโตอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผู้บริโภคมีความตระหนักถึงสุขภาพของล�าไส้
               เมื่อไม่นานมานี้ ในปี 2558 Rhein-Knudsen และคณะ รายงานว่า การผลิต   มากขึ้น (ข้อมูลจาก Grand View Research ปี 2562) พรีไบโอติกที่นิยมใช้กัน
            ไฮโดรคอลลอยด์จากสาหร่ายมีปริมาณมากถึง 100,000 ตันต่อปี โดยน�าไปใช้ใน  ทั่วไปในปัจจุบัน ได้แก่ อินนูลิน ฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ กาแลคโตโอลิโกแซคคาไรด์
            อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อาหาร ยา และเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งมีมูลค่าตลาดโดยรวม  และแลคทูโลส ความตระหนักในประโยชน์ของพรีไบโอติกในกลุ่มผู้บริโภคที่
            มากกว่า 1.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปัจจุบันสาหร่ายได้รับความสนใจจากผู้บริโภค  เพิ่มสูงขึ้น น�าไปสู่ความสนใจในการแยกและพัฒนาพอลิแซคคาไรด์และสาร-
            เพิ่มขึ้น เนื่องจากสาหร่ายเป็นแหล่งส�าคัญของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มี  ออกฤทธิ์ทางชีวภาพอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติดีต่อสุขภาพล�าไส้จากแหล่งวัตถุดิบใหม่ๆ
            คุณสมบัติทางชีววิทยาอย่างหลากหลาย แตกต่างจากพืชที่เจริญบนพื้นดินทั่วไป      สาหร่ายกับคุณสมบัติพรีไบโอติก
            ซึ่งไม่มีคุณสมบัติดังกล่าว นอกจากนี้ สาหร่ายยังอุดมไปด้วยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน   พอลิแซคคาไรด์ที่ได้จากสาหร่าย เช่น อัลจิเนต (Alginates) ฟูคอยแดน
            กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน ซึ่งรวมถึงกรดไขมันโอเมก้า 3 ตลอดจนแร่ธาตุต่างๆ          (Fucoidans) ลามินาริน (Laminarins) อัลแวน (Ulvans) อะการ์ (Agars) และ
            พอลิฟีนอล รงควัตถุให้สี (เช่น Chlorophylls, Fucoxanthins และ Phycobilins)   คาราจีแนน (Carrageenans) ส่วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็นใยอาหาร หรือ Dietary
            และ Mycosporine-like amino acids ซึ่งสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเหล่านี้มีคุณสมบัติ  fibre เนื่องจากทนต่อการย่อยของเอนไซม์ที่พบในระบบทางเดินอาหารมนุษย์
            เชิงชีววิทยาหลายด้าน ได้แก่ คุณสมบัติในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ต้านเชื้อ HIV              ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในล�าไส้ใหญ่ที่มีประโยชน์ ยับยั้ง
            ต้านมะเร็ง ต้านเบาหวาน ต้านจุลินทรีย์ ต้านการตกตะกอน ต้านไวรัส ต้านเนื้องอก           การรุกล�้าของจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค และช่วยควบคุมเมทาบอลิซึม รวมถึง
            ต้านการอักเสบ ทั้งยังมีผลในการควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน มีคุณสมบัติเป็นพรีไบโอติก   กระบวนการหมักในล�าไส้ใหญ่ (O’Sullivan และคณะ, 2010) ดังนั้นการศึกษา
            และลดระดับคอเลสเตอรอล เป็นต้น (Holdt และ Kraan, 2554)
                                                                    การเปลี่ยนแปลงของพอลิแซคคาไรด์เมื่อผ่านระบบจ�าลองการย่อยของมนุษย์
                                                                    (in vitro model) จึงมีความส�าคัญ เพื่อช่วยยืนยันว่าองค์ประกอบในสาหร่าย
            พรีไบโอติกในภาพรวม                                      ถูกย่อยด้วยเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหารหรือไม่ รวมถึงมีแนวโน้มผ่านเข้าสู่
            พรีไบโอติกมีคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ จึงท�าให้ได้รับความสนใจมากขึ้น  ล�าไส้ใหญ่และส่งผลต่อเชื้อจุลินทรีย์  ยกตัวอย่างเช่น  Neoagaro-
            ในฐานะอาหารที่มีหน้าที่เฉพาะ นอกเหนือจากคุณค่าทางโภชนาการพื้นฐาน ค�าว่า  oligosaccharides จากสาหร่ายสีแดงไม่ถูกย่อยโดยเอนไซม์ที่พบในล�าไส้เล็ก
            พรีไบโอติกได้ถูกน�ามาใช้นิยามสารที่มีคุณสมบัติ (1) ทนต่อการย่อยและการดูดซึม  เมื่อทดลองผ่านระบบจ�าลองการย่อย (Hu และคณะ, 2006)

             44 FOOD FOCUS THAILAND  APR  2019


         44-47_Strategic R&D_Suwimol.indd   44                                                                       18/3/2562 BE   20:29
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49