Page 48 - FoodFocusThailand No.157 April 2019
P. 48

STRATEGIC R & D
                                                                                         กสิภูมิ ทวนคง
                                                                                         Khasipoom Thaunkhong
                                                                                         Assistant Product Manager
                                                                                         BJC Specialties Company Limited
                                                                                         Khasipot@bjc.co.th
            สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ


            จากถั่วเหลืองกับ


            คุณประโยชน์ต่อร่างกาย




             สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ  (Bioactive  compounds)  คือ  สารจากสิ่งมีชีวิต
             ตามธรรมชาติที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตทั้งคน สัตว์ และพืช โดยสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่ดี

             ต้องเป็นสารที่มีผลจําเพาะเจาะจงและสารนั้นจะต้องไม่มีผลในทางลบต่อร่างกาย หรือ
             มีผลข้างเคียงน้อย ซึ่งสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพมีหลายชนิด เช่น สารกลุ่มพอลิฟีนอล
             (Polyphenol) ฟลาโวนอยด์ (Flavoniod) แอนโทไซยานิน (Anthocyaine) ลูทีน
             (Lutein) และไบโอแอคทีฟเพปไทด์ (Bioactive peptide)  เป็นต้น ซึ่งในบทความนี้
                                                            1
             จะกล่าวถึงไบโอแอคทีฟเพปไทด์เเป็นหลัก


                ในปัจจุบันมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์แสดงให้เห็นว่าโปรตีนจากอาหาร  ป้องกันการสลายตัวและฟื้นฟูกล้ามเนื้อหลังการออกก�าลังกาย (รูปที่ 2)
             ประกอบด้วยล�าดับกรดอะมิโนที่เป็นส่วนประกอบของเพปไทด์ที่มีฤทธิ์ทาง  จะพบว่าผู้ทดลองที่รับประทานเพปไทด์จากถั่วเหลืองจะมีระดับเอนไซม์-
             เภสัชวิทยาซึ่งออกฤทธิ์ต่อร่างกายหลายอย่าง เช่น ต่อต้านอนุมูลอิสระ   ครีเอทีนไคเนส (Creatine kinase) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่บ่งชี้ว่ากล้ามเนื้อมีการ-
             (Antioxidant) ปรับระบบภูมิคุ้มกัน (Immunomodulation) ลดความดันโลหิต   ฉีกขาดหรือสลายตัวมากน้อยเท่าไร ในระดับที่ต�่ากว่าผู้ที่รับประทานโปรตีน
             (Anti-hypertension) ลดน�้าตาลในเลือด (Anti-diabetic) และลดไขมันในเลือด   ถั่วเหลือง และในกลุ่มยาหลอก
             (Anti-dyslipidemic) โดยทั่วไปไบโอแอคทีฟเพปไทด์จะประกอบด้วยกรดอะมิโน
             2-20 ชนิดและมีมวลโมเลกุลน้อยกว่า 6,000 ดาลตัน ซึ่งการเกิดหรือการผลิต
             ไบโอแอคทีฟเพปไทด์นั้นจะเกิดจากกระบวนการย่อยด้วยน�้า (Hydrolysis)
             โดยมีเอนไซม์ในกลุ่มโปรติเอส (Protease) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งท�าให้เกิด
             เพปไทด์สายสั้นๆ หรือเกิดไบโอแอคทีฟเพปไทด์ขึ้น ซึ่งร่างกายจะสามารถดูดซึม
                                             2
             เพปไทด์สายสั้นๆ ได้รวดเร็วกว่าในรูปกรดอะมิโน  (รูปที่ 1)

                                      รูปที่ 1 การดูดซึมเพปไทด์เข้าสู่เซลล์   รูปที่ 2 การเปลี่ยนแปลงระดับเอนไซม์ครีเอทีนไคเนส
                                      Figure 1 Absorption of peptides into cells  Figure 2 Changes in creatine kinase enzyme

                                         ปัจจุบันผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะหัน
                                      มาบริโภคโปรตีนจากพืชและลดการ
                                      บริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์เพิ่มขึ้นอย่าง
                                      ต่อเนื่องทั้งในจีน ยุโรป และอเมริกา
                                      ท�าให้โปรตีนจากพืชมีบทบาทมากขึ้นใน
             อนาคตซึ่งรวมถึงไบโอแอคทีฟเพปไทด์จากพืชด้วย เช่น เพปไทด์จากถั่วเหลือง

             (Soy peptide)                                           รูปที่ 3 กระตุ้นการสังเคราะห์ Growth hormone-mediated IGF1 และยับยั้ง

                โปรตีนจากถั่วเหลืองเป็นแหล่งโปรตีนที่หาง่าย ราคาไม่แพง และมีกรด-                  สารกลุ่มไซโตไคน์
             อะมิโนจ�าเป็นครบถ้วน นอกจากนี้ยังเหมาะกับคนที่แพ้น�้าตาลแลคโตสใน             Figure 3 The cytokine substance that affects muscle breakdown
             นมวัวอีกด้วย โปรตีนจากถั่วเหลืองประกอบด้วยโปรตีนไกลซินิน (Glycinin)           นอกจากนี้ เพปไทด์จากถั่วเหลืองยังมีสมบัติในเรื่องเสริมสร้างกล้ามเนื้อ
             และ β-conglycinin ร้อยละ 65-80 ซึ่งในปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยพบว่าเพปไทด์  โดยกระตุ้นการสังเคราะห์ Growth hormone-mediated IGF1 เพื่อท�าให้เกิด
             จากถั่วเหลืองมีสมบัติเป็นไบโอแอคทีฟเพปไทด์และมีประโยชน์ต่อร่างกาย               การเพิ่มการสังเคราะห์กล้ามเนื้อและยับยั้งสารกลุ่มไซโตไคน์ (Cytokines) ซึ่ง
             ในหลายหน้าที่ ดังนี้                                   ท�าให้ลดการสลายตัวของกล้ามเนื้อ (รูปที่ 3)

             48 FOOD FOCUS THAILAND  APR  2019
             48 FOOD FOCUS THAILAND APR  2019

         48-49_Strategic R&D_BJC.indd   48                                                                           18/3/2562 BE   21:37
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53