Page 51 - FoodFocusThailand No.157 April 2019
P. 51

SCOOP



                     ทางทีมผู้วิจัยได้ท�าการศึกษา                                   เกลือขนาดเล็กยังสามารถยึดเกาะกับพื้นผิวอาหารได้ดี
                  กระบวนการการปรับลดขนาดอนุภาค                                       ท�าให้ไม่ต้องใช้เกลือในปริมาณที่มากเกินความจ�าเป็น
                  เกลือทะเล (Particle size reduction)                                 การลดขนาดเกลือสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้กับ
                  และใช้สารเสริมรสชาติ (Flavor                                         ผลิตภัณฑ์อาหารที่ต้องใช้เกลือเป็นเครื่องปรุงรส หรือ
                  induced saltiness) เพื่อใช้เป็น                                       เป็นตัวโรยเคลือบผิว เช่น ขนมขบเคี้ยว มันฝรั่งทอด
                  ทางเลือกในการลดปริมาณ                                                 ไก่ทอด เป็นต้น
                  โซเดียมหรือเกลือในผลิตภัณฑ์                                               อย่างไรก็ตาม การปรับลดขนาดเกลือไม่มีผล
                  อาหาร  โดยที่ผลิตภัณฑ์ยังคงมี                                           ในผลิตภัณฑ์อาหารที่ใช้เกลือในลักษณะ
                  รสชาติเค็มใกล้เคียงเดิม                                                 สารละลาย ด้วยข้อจ�ากัดนี้ทางทีมวิจัยมีการ-
                     ผลการศึกษาการปรับลดขนาดเกลือ-                                        ศึกษาการใช้เกลือร่วมกับสารเสริมรสชาติ ได้แก่
                  ทะเลต่อการรับรสเค็ม พบว่าขนาดอนุภาค                                    สมุนไพรไทย และสารสกัดกรดกลูตามิกจาก
                  เกลือที่เล็กลง (ขนาด 400, 80 และ 40                                เนื้อไก่ พบว่าการใช้สารเสริมรสชาติทั้งสองกลุ่มนี้
                  ไมครอน) มีแนวโน้มท�าให้ผู้ทดสอบรู้สึกว่า                            สามารถลดปริมาณเกลือลงได้ร้อยละ 15-25 ใน
                  อาหารมีความเค็มเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับเกลือ      ผลิตภัณฑ์ปลาเค็ม และหมูยอ โดยไม่ส่งผลกระทบคุณลักษณะผลิตภัณฑ์
                  ที่มีขนาดใหญ่กว่าในปริมาณที่เท่ากัน (รูปที่ 1) และเมื่อทดสอบการใช้เกลือ-  ความชอบ และการยอมรับของผู้บริโภค
                  ทะเลปรับลดขนาดที่ 40 ไมครอน เพื่อลดปริมาณโซเดียมในผลิตภัณฑ์             องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยครั้งนี้สามารถน�ามาใช้เป็นแนวทางใน
                  เม็ดมะม่วงหิมพานต์อบเกลือ พบว่าเกลือทะเลขนาด 40 ไมครอน สามารถ  การปรับลดปริมาณโซเดียมในอาหาร หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่ม
                  ลดปริมาณการใช้ลงได้ร้อยละ 25 โดยที่ผู้บริโภคไม่รู้สึกว่าผลิตภัณฑ์มีความเค็ม  ขนมขบเคี้ยว หรือผงปรุงรสต่างๆ รวมถึงถ่ายทอดให้ผู้ประกอบการภาคเอกชน
                  ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้เกลือปรุงอาหารทั่วไป (รูปที่ 2) ทั้งนี้  ผลที่  ที่สนใจจะน�าไปผลิตจ�าหน่ายในเชิงพาณิชย์ เพื่อลดการบริโภคโซเดียม
                  เกิดขึ้นเนื่องจากเกลือที่มีขนาดเล็กจะละลายและแตกตัวเข้าสู่ต่อมรับรส              ในประชากรตามแนวทางของเครือข่ายลดบริโภคเค็มต่อไป
                  ในลิ้นได้ดีกว่าเกลือขนาดใหญ่ ท�าให้รู้สึกเค็มได้ดีและเร็วขึ้น รวมถึง























                                                                                                                Visit us at
                                                                                                              Booth No. ZZ13
                                                                                                                 Hall 1





















                                                                                                   APR  2019 FOOD FOCUS THAILAND  51


         50-52_Scoop_Salt.indd   51                                                                                  19/3/2562 BE   19:43
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56