Page 55 - FoodFocusThailand No.157 April 2019
P. 55
STREN
STRENGTHEN THE PACKAGINGGTHEN THE PACKAGING
ณัฐนันท์ อภินันท์วัฒนกูล 1) การเติบโตของความเป็นชุมชนเมือง และการเพิ่มขึ้นของรายได้ต่อหัว นอกจากนี้ ยังมีการรณรงค์ลดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกพื้นฐานในภาค
Nattanan Apinunwattanakul ท�าให้ปริมาณการใช้บรรจุภัณฑ์ โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์พลาสติกส�าหรับ เอกชนของไทย เช่น Tops daily จัดกิจกรรมรับคะแนนสะสมเพิ่ม เมื่อซื้อสินค้า
Economic Intelligence Center (EIC)
The Siam Commercial Bank Public Company Limited อาหารและเครื่องดื่มเพิ่มขึ้น ในร้านโดยไม่รับถุงพลาสติก SCB จัดกิจกรรมรณรงค์ลดการใช้ขวดน�้าพลาสติก
nattanan.apinunwattanakul@scb.co.th
www.scbeic.com 2) การขยายตัวของครัวเรือนขนาดเล็ก เนื่องจากจ�านวนคนโสดและ แบบใช้ครั้งเดียวทิ้งด้วยการแจกขวดน�้าพลาสติกที่สามารถน�ากลับมาใช้ซ�้า
คู่สมรสที่ไม่มีบุตรมีจ�านวนมากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการบรรจุภัณฑ์แบบ ให้แก่พนักงาน
เฉพาะหน่วย (Individual packaging) มากขึ้น โดยบรรจุภัณฑ์พลาสติกจะ อีไอซีมองว่ามาตรการของทั้งภาครัฐและเอกชนดังที่กล่าวข้างต้น แม้ว่าใน
มีขนาดเล็กลงเพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณการบริโภคสินค้าของสมาชิกใน ระยะสั้นจะส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการไม่มากนัก เนื่องจากคนไทยมีการใช้
ครัวเรือน เพื่ออ�านวยความสะดวกในการเดินทาง ถุงพลาสติกปีละ 7 พันล้านใบ แต่หากภาครัฐปฏิบัติตามเป้าหมายได้ส�าเร็จ
3) การเติบโตของสังคมผู้สูงอายุ รวมไปถึงกระแสความใส่ใจด้านสุขภาพ ในการน�าพลาสติกกลับมาใช้หลังการบริโภคร้อยละ 60 ตามที่กล่าวข้างต้น
และความปลอดภัยของผู้บริโภค ท�าให้มีความต้องการบรรจุภัณฑ์พลาสติก ประกอบกับกระแสการลดการใช้พลาสติกแบบครั้งเดียว จะส่งผลกระทบต่อ
ที่รักษาความสดใหม่ สามารถยืดอายุสินค้าให้นานที่สุด และรักษาระดับ ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบพื้นฐานแบบบริโภคครั้งเดียว (Single use)
ความร้อนและความเย็นของอาหารและเครื่องดื่ม โดยไม่มีสารปนเปื้อน อย่างถุงหูหิ้ว ขวดน�้าพลาสติกแบบพื้นฐาน จากปริมาณการใช้ที่ชะลอตัวลง
ออกมาจากพลาสติก อย่างมีนัยส�าคัญในอนาคต
จากการเปลี่ยนแปลง 3 ด้านดังกล่าว ท�าให้ความต้องการใช้พลาสติก
แบบอ่อนตัวของไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจากบรรจุภัณฑ์ดังกล่าวมีลักษณะ ไทยยังมีความต้องการแผ่นฟิล์มเพื่อน�าไปผลิตพลาสติกแบบอ่อนตัว
เป็นแบบชั้นฟิล์มหลายชั้น (Multilayer film) ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการทน ที่มีมูลค่า
ความร้อนและความดันสูง ทั้งยังสามารถพิมพ์ฉลากลงบนบรรจุภัณฑ์ได้ ในปัจจุบันไทยน�าเข้าบรรจุภัณฑ์พลาสติกประเภทฟิล์ม เช่น ถุงพลาสติก
มีความแข็งแรง ความสะดวกในการห่อหุ้มสินค้า สามารถขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์ เสริมอลูมิเนียมฟอยล์ประเภทปลอดเชื้อที่มีมูลค่าสูง ขณะที่เป็นผู้ส่งออกสุทธิ
หน่วยเล็กๆ ได้ ง่ายต่อการใช้งาน และการขนส่ง เช่น ถุงแบบตั้งได้ (Stand- บรรจุภัณฑ์พลาสติกพื้นฐาน เช่น ถุงพลาสติกแบบหูหิ้ว (Shopping bag) ที่มี
up pouches) ถุงซิป (Re-closable packs) มูลค่าเพิ่มต�่า ท�าให้เมื่อเปรียบเทียบมูลค่าของพลาสติกต่อตันกับประเทศที่เป็น
ผู้ส่งออกสุทธิในเอเชียอย่าง จีน เกาหลี เวียดนาม ไต้หวัน อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น
กฎเกณฑ์และมาตรการจากภาครัฐ
กฎเกณฑ์และมาตรการจากภาครัฐเป็นปัจจัยผลักดันในการลดการใช้
พลาสติกแบบพื้นฐาน และน�าบรรจุภัณฑ์พลาสติกหมุนเวียนมาใช้ใหม่
มากขึ้น โดยรัฐ มี 3 เป้าหมายหลักส�าคัญที่จะจัดการขยะพลาสติกแบบ
บูรณาการ คือ
1) ปริมาณขยะพลาสติกที่น�าไปก�าจัดจะต้องลดลง
2) การออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มากขึ้น
3) มีการน�าพลาสติกกลับมาใช้หลังการบริโภคร้อยละ 60 ภายในปี 2564
ทั้งนี้ ภาครัฐจะมีการทบทวนแนวคิดการจัดเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียม
จากการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติก เช่น ภาษีถุงพลาสติก หรือภาษีห่อหุ้ม
ผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ได้ลงนามบันทึกความร่วมมือ (MOU) ให้บริษัทผลิตน�้าดื่ม รูปที่ 2 ไทยเสียเปรียบในเชิงมูลค่าต่อน�้าหนักของบรรจุภัณฑ์พลาสติกมากที่สุด
เลิกหุ้มฝาขวดด้วยพลาสติก (Cap seal) โดยมีเป้าหมายในการลดปริมาณ เมื่อเทียบกับประเทศผู้ส่งออกรายอื่นในเอเชียปี 2560
ขยะพลาสติกให้ได้ปีละ 520 ตัน หรือมีความยาว 260,000 กิโลเมตร คิดเป็น (หน่วย: พันเหรียญสหรัฐต่อตัน)
ความยาวรอบโลกถึง 6.5 รอบ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2561 Figure 2 Thailand is severely disadvantaged in the per weight value of
plastic packaging when compared to other exporters in Asia in
ในส่วนของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 2017 (Unit: USD 1,000 per tonne)
ได้ประกาศยกเลิกการใช้ ที่มา/Source: การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Trade Map
ถุงพลาสติกส�าหรับใส่ยา EIC Analysis of information from Trade Map
ทุกหน่วยงานในสังกัด ซึ่งเริ่ม พบว่าไทยมีความเสียเปรียบในเชิงมูลค่าบรรจุภัณฑ์พลาสติกต่อตัน
ในวันที่ 1 ตุลาคม 2561 ซึ่ง มากที่สุด และประเทศญี่ปุ่นมีความได้เปรียบในเชิงมูลค่ามากที่สุด
มาตรการนี้จะช่วยลดการใช้ โดยสินค้าที่ญี่ปุ่นส่งออกจะเป็นแผ่นฟิล์มที่มีหลายชั้น เพื่อผลิตเป็น
ถุงพลาสติกของโรงพยาบาล บรรจุ-ภัณฑ์พลาสติกชนิดอ่อนตัว (รูปที่ 2) ทั้งนี้ จึงเป็นเป็นอีกหนึ่ง
ในสังกัดของกรมการแพทย์ โอกาสให้ผู้ประกอบการพัฒนาตลาดส�าหรับแผ่นฟิล์มเพื่อใช้ส�าหรับ
ถึงปีละกว่า 9 ล้านใบ พลาสติกแบบอ่อนตัวที่ยังมีความต้องการทั้งภายในประเทศและ
ต่างประเทศ
APR 2019 FOOD FOCUS THAILAND 55
54-57_Strengther_SCB.indd 55 18/3/2562 BE 22:27