Page 50 - FoodFocusThailand No.157 April 2019
P. 50

SCOOP
            SCOOP









                                                      การบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงเป็นสาเหตุของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็น

                                                       ปัญหาสุขภาพของประชากรไทย เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ
                                                             อัมพฤกษ์อัมพาต และโรคไต รวมถึงส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมติดเค็ม
                                                                                   ท�าให้การลดปริมาณโซเดียมเป็นไปได้ยาก









                                                                                   โครงการต้นแบบ

                                                                ผลิตภัณฑ์เกลือลดโซเดียม:


                                                                   การใช้ประโยชน์และ


                          การถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์


    George Glass
 Compiled and Translated By:  กองบรรณาธิการ
 นิตยสาร ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์

             Editorial Team
             Food Focus Thailand Magazine
 editor@foodfocusthailand.com








                องค์การอนามัยโลกได้ก�าหนดให้บริโภคโซเดียมไม่เกินวันละ 2,000   ชุษณา เมฆโหรา
             มิลลิกรัม ซึ่งเท่ากับเกลือประมาณ 1 ช้อนชา หรือน�้าปลาประมาณ 2               Chusana Mekhora
             ช้อนโต๊ะ แต่จากผลการส�ารวจที่ผ่านมาในประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมถึง  Researcher Professional Level
                                                                             Department of Nutrition and Health
             ประเทศไทย พบว่าประชากรส่วนใหญ่บริโภคโซเดียมมากเกินกว่า               Institute of Food Research and Product Development (IFRPD)
                                                                             Kasetsart University
             ความต้องการของร่างกายถึง 3-4 เท่าตัวซึ่งถือว่าอยู่ในสถานการณ์อันตราย   ifrcnm@ku.ac.th
             และถ้าไม่ได้รับการควบคุมอาจท�าให้อัตราการเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรัง
             ที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคโซเดียมเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต
                การส�ารวจของกรมอนามัยในปี 2552 พบว่าคนไทยส่วนใหญ่มี
             แนวโน้มในการรับประทานอาหารที่มีโซเดียมสูง โดยมีค่าเฉลี่ยการบริโภค  วิธีการที่นิยมใช้ปรับลดปริมาณโซเดียมในผลิตภัณฑ์อาหาร คือ การใช้
             โซเดียมสูงถึง 4,351.7 มิลลิกรัมต่อคนต่อวัน ซึ่งสูงกว่าปริมาณที่องค์การ-  สารทดแทนเกลือ หรือโพแทสเซียมคลอไรด์ แต่อย่างไรก็ตาม การใช้โพแทสเซียม-
             อนามัยโลกก�าหนดไว้ถึง 2 เท่า โดยร้อยละ 71 ของโซเดียมมาจากการใช้  คลอไรด์อาจก่อให้เกิดรสเฝื่อนในผลิตภัณฑ์ รวมถึงยังมีข้อควรระวังในการใช้
             เครื่องปรุงรสต่างๆ เช่น น�้าปลา เกลือ กะปิ ซีอิ๊ว ผงชูรส เป็นต้น นอกจากนี้   กับผู้ป่วยบางโรค เช่น โรคไต หรือโรคหัวใจ ที่ต้องจ�ากัดปริมาณโพแทสเซียม
             การรับประทานโซเดียมสูงเป็นประจ�ายังท�าให้ต่อมรับรสมีความเคยชิน           ดังนั้นการหาแนวทางในการปรับลดโซเดียมโดยไม่ส่งผลกระทบต่อรสชาติเค็ม
             ต่อรสเค็ม หรือมีระดับของการรับรสเค็มที่สูงขึ้น (Increased threshold)   จึงมีความจ�าเป็น
             ท�าให้การปรับลดปริมาณโซเดียมในอาหารเป็นไปได้ยาก


             50 FOOD FOCUS THAILAND  APR  2019


         50-52_Scoop_Salt.indd   50                                                                                  18/3/2562 BE   20:14
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55