Page 24 - FoodFocusThailand No.142_January 2018
P. 24
ยุวาณี อุ้ยนอง
Yuwanee Ouinong
Economic Intelligence Center (EIC)
yuwanee.ouinong@scb.co.th
SURF THE AEC Siam Commercial Bank Public Company Limited
ดร.ไพศาล มะระพฤกษ์วรรณ
Paisan Maraprygsavan, Ph.D.
Director
Industrial and Service Trade Research Division
Trade Policy and Strategy Office
Ministry of Commerce
paisan711@gmail.com
ชูธงอีอีซี...น�ำไทยสู่เวทีโลก
โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor; EEC) มีแนวโน้มที่จะประสบความส�าเร็จเป็นอย่างดี
เมื่อญี่ปุ่น จีน รัสเซีย และสิงคโปร์ ต่างให้ความสนใจในการเข้ามาลงทุนในโครงการ EEC เป็นอย่างมาก เพื่อเป็นฐานการผลิตป้อนตลาด
เอเชียและตลาดโลก
ญี่ปุ่นแสดงความสนใจอย่างชัดเจนเป็นพิเศษ ญี่ปุ่นยังคงเป็นนักลงทุนใหญ่เป็นอันดับ 1 ในประเทศไทยคิดเป็น
โดยเมื่อวันที่ 11-13 กันยายน 2560 ที่ผ่านมา ได้มีคณะ ร้อยละ 36.2 ของการลงทุนทั้งหมด (ข้อมูลจากปี 2559) ส�าหรับช่วง
ผู้บริหารระดับสูงและซีอีโอจากบริษัทแม่ รวมทั้งเจโทร 6 เดือนแรกของปี 2560 ญี่ปุ่นก็ยังครองความเป็นอันดับ 1 เช่นกัน
ฟูกูโอกะ และนิเคอิ กว่า 570 คน น�าโดยนายฮิโรชิเกะ ตามมาด้วยสิงคโปร์ และจีน คิดเป็นร้อยละ 14.8 และ 14.3 ตามล�าดับ
เซโกะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ-การค้าและ แม้ว่าสัดส่วนการลงทุนของจีนจะยังน้อยเมื่อเทียบกับญี่ปุ่น แต่ก็มี
อุตสาหกรรม (METI) ได้เดินทางมาเยือนประเทศไทย การขยายตัวสูงอย่างต่อเนื่อง เป็นเรื่องยากที่ญี่ปุ่นจะสละต�าแหน่งแชมป์
โดยมีเป้าหมายหลักเป็นการศึกษาความพร้อมของ ให้กับจีนในเมื่อญี่ปุ่นเองได้สร้างเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานที่เข้มแข็ง
โครงการ EEC ในภาคตะวันออกของไทย ทางคณะ ไว้ในประเทศไทยแล้ว การย้ายฐานการผลิตจากไทยไปประเทศอื่น
ให้ความสนใจลงทุนใน 4 สาขาอุตสาหกรรม คือ ก็เท่ากับว่าญี่ปุ่นจะต้องเริ่มต้นจากศูนย์ อย่างไรก็ตาม การแข่งขันกัน
1. อุตสาหกรรมยานยนต์ การบิน ศูนย์ซ่อมอากาศยาน เติบโตของบริษัทญี่ปุ่นและจีนในไทย กลับเป็นสิ่งดีต่อประเทศไทยและ
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หุ่นยนต์ 3. อุตสาหกรรมการแพทย์ การเกษตร อาหาร จะมีส่วนที่ส�าคัญในการสร้างความมั่นใจให้ประเทศอื่นๆ ให้เข้ามาลงทุน
เป็นต้น 4. อุตสาหกรรมบริการ การค้า ค้าปลีก โลจิสติกส์ เป็นต้น จึงท�าให้มั่นใจ ในโครงการ EEC ด้วยเช่นกัน
ได้ระดับหนึ่งว่าอุตสาหกรรมยานยนต์จะยังคงอยู่ในประเทศไทยตอบรับกับ ความสนใจอย่างกระตือรือร้นของนักลงทุนญี่ปุ่นเกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ย
อุตสาหกรรมนี้ที่ก�าลังก้าวสู่ยุคยานยนต์ไฟฟ้า และสอดคล้องกับนโยบายส่งออก กับที่จีนเปิดเกมรุกในการลงนามท�าความตกลงด้านการลงทุนรถไฟ
การลงทุนของนายกรัฐมนตรีอาเบะในสาขาหลัก อันได้แก่ การผลิตอัตโนมัติ ความเร็วสูงกับ สปป.ลาว อินโดนีเซีย และประเทศไทย ภายใต้อภิมหา
ด้วยคอมพิวเตอร์ (Automation) หุ่นยนต์อุตสาหกรรม และ Internet of things โปรเจกต์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt One Road) ที่ครอบคลุม
(การเชื่อมโยงการผลิต/การท�างานหลากหลายออนไลน์) ที่จ�าเป็นอย่างยิ่งในการเชื่อมโยง ไปทั่วโลก ซึ่งสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาคือระเบียงเศรษฐกิจตามแนวเส้นทาง
ห่วงโซ่อุปทานขนาดใหญ่ในระเบียงเศรษฐกิจเป็นหนึ่งเดียวเข้าไว้ด้วยกัน ดังกล่าว และจะมาเชื่อมกับโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
นอกจากนั้นก็ยังมีคณะนักธุรกิจญี่ปุ่นเดินทางมาเยี่ยมชมโครงการ EEC กันอย่างต่อเนื่อง ในอีกด้านหนึ่งการขยายการด�าเนินธุรกิจของ Alibaba และ Alipay
โดยล่าสุดเมื่อในเดือนพฤศจิกายน 2560 ได้มีคณะตัวแทนธุรกิจจากจังหวัด ในไทยของแจ็ค หม่า จะมีส่วนช่วยอย่างมากในการตัดสินใจเข้ามาลงทุน
ยามานาชิ 10 บริษัท มาเยี่ยมชมโครงการ EEC ของไทยด้วยเช่นกัน ของธุรกิจจีนในไทยมากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันรัฐบาลจีนก็ได้ส่งเสริมการ
ลงทุนของรัฐวิสาหกิจและวิสาหกิจจีนไปลงทุนในต่างประเทศ เป็นผลให้
22 22 FOOD FOCUS THAILAND JAN 201818
FOOD FOCUS THAILAND JAN 20