Page 25 - FoodFocusThailand No.142_January 2018
P. 25
SURF THE AEC
มีชาวจีนเดินทางไปประกอบธุรกิจในต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น เป็นที่น่าสังเกต ไทย-และรัสเซีย ได้ท�าความตกลงกันเพื่อจัดตั้งคณะท�างานส�าหรับความร่วมมือ
ว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีชาวจีนโพ้นทะเลมากเป็นอันดับ 1 ของโลก ระหว่างโครงการ EEC ของไทยและโครงการพัฒนาของรัสเซียโดยตรง
จ�านวน 9.39 ล้านคน รองลงมาเป็นมาเลเซีย สหรัฐอเมริกา และอินโดนีเซีย โดยฝ่ายรัสเซียจะจัดคณะนักธุรกิจขนาดใหญ่มาเยือน EEC ของไทยเร็วๆ นี้
จ�านวน 6.65, 4.95 และ 2.83 ล้านคน ตามล�าดับ (ข้อมูลจาก World Economic เช่นเดียวกับญี่ปุ่น นับเป็นการยกระดับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระดับสูง
Forum ปี 2559) สะท้อนให้เห็นถึงความน่าสนใจของประเทศไทยที่มีต่อคนจีน อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน
ในอีกด้านหนึ่ง ความเปลี่ยนแปลงด้านภาวะโลกร้อนกลับกลายเป็นโอกาส ความสนใจของทั้ง 3 ประเทศในการเข้ามาลงทุนในไทยแสดงให้เห็น
ใหม่ที่จะช่วยให้รัสเซียกลายเป็นคู่ค้าส�าคัญรายใหม่ของไทย การละลายของ ในแง่มุมหนึ่งว่า พลวัตรของเศรษฐกิจโลกก�าลังเคลื่อนตัวสู่อาเซียนและเอเชีย
น�้าแข็งที่ขั้วโลกเหนือเป็นผลให้เกิดเส้นทางเดินเรือเส้นใหม่ ซึ่งก็คือหนึ่งแถบ มากยิ่งขึ้น โดยธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชียได้ระบุว่า GDP ของอาเซียน
หนึ่งเส้นทางของรัสเซีย พาดผ่านขั้วโลกเหนือเชื่อมรัสเซีย-อาเซียนที่ใช้เวลา จะมีสัดส่วนร้อยละ 40 และร้อยละ 52 ของ GDP โลกในปี 2573 และ 2593
น้อยลงมากถึงร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับเส้นทางอื่น และไม่ต้องใช้เรือตัดน�้าแข็ง ตามล�าดับ โดยแนวโน้มดังกล่าวมีความเป็นจริงอยู่ไม่น้อย เนื่องจากปัจจุบัน
ขนาดเศรษฐกิจของอาเซียน +4 (รวมญี่ปุ่น จีน อินเดีย และเกาหลีใต้) มีสัดส่วน
ใน GDP โลกถึงร้อยละ 30 เข้าไปแล้ว
ย้อนกลับไปที่สิงคโปร์ที่เป็นผู้ลงทุนในไทยสูง เป็นรองแต่เฉพาะจีนเท่านั้น
สาขาที่ส�าคัญที่สิงคโปร์เข้ามาลงทุนในไทย คือ สาขาอิเล็กทรอนิกส์และบริการ
(ร้อยละ 30 ของการลงทุนในไทย) สาขาบริการเป็นสาขาที่มีความส�าคัญที่สุด
ของสิงคโปร์ โดยมีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
มากกว่า 2 ใน 3 และมีการจ้างงานประมาณร้อยละ 70 ของแรงงานทั้งหมด
สาขาบริการที่สิงคโปร์มีความช�านาญ คือ การเงินและการประกันภัย การบริการ
ด้านธุรกิจ บริการด้านที่พักและอาหาร การค้าส่งและค้าปลีก การขนส่งและโกดัง
ขณะที่สาขาที่มีความเข้มแข็ง คือ การเงินและธนาคาร ถือได้ว่าการเข้ามา
ขยายฐานด้านบริการในไทยในช่วงเวลาที่ไทยก�าลังก้าวเข้าสู่การเป็นฮับด้าน
โลจิสติกส์ของอาเซียนและก�าลังพัฒนาโครงการระเบียงเศรษฐกิจ EEC ถือได้ว่า
เป็นการตัดสินใจที่ชาญฉลาด รู้เขารู้เราอย่างเหมาะเจาะลงตัว จึงควรอย่างยิ่งที่
ประเทศไทยจะมีการตื่นตัวในการส่งเสริมธุรกิจบริการด้วยเช่นกัน
การจัดตั้งระเบียงเศรษฐกิจไม่ง่ายนัก แต่การจะท�าให้ประสบความส�าเร็จ
น�าร่องท�าให้ต้นทุนลดลงด้วย ล่าสุดเมื่อกลางปี 2560 บริษัทซอฟคอมฟลอต มีนักลงทุนสนใจเข้ามาลงทุนอย่างจริงจังเป็นสิ่งที่ยากกว่ามาก ถือได้ว่ารัฐบาล
(Sovcomflot) ของรัสเซียได้ประเดิมเดินเรือในเส้นทางนี้เป็นรายแรกด้วยเรือ ไทยประสบความส�าเร็จระดับหนึ่งในการสร้างการยอมรับให้เกิดขึ้นในบรรดา
คริสทอฟ เดอ มาร์เจอรีบรรทุกก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) มายังเกาหลีใต้ บริษัทข้ามชาติได้ ระเบียงเศรษฐกิจจึงเป็นค�าตอบในยุค 4.0 ที่การค้าโลก
ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจไทย-รัสเซียได้พัฒนามากขึ้นเป็นล�าดับ ต่างแข่งขันกันด้วยเทคโนโลยีระดับสูง โครงการ EEC จะช่วยดึงดูด FDI
โดยปัจจุบันรัสเซียมีนโยบายหันหน้าสู่ตะวันออก (Turn to the East) ที่ต้องการ สู่ประเทศไทยได้เป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นการรวมแหล่งการผลิต ห่วงโซ่อุปทาน
พัฒนาภาคตะวันออกไกลของรัสเซียเชื่อมโยงกับอาเซียนและเอเชียแปซิฟิก และตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตสูงเข้าด้วยกัน โดยจะเห็นได้ว่าโครงการ EEC
ที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง นับแต่ปี 2558 เป็นต้นมาได้มี นอกจากจะมีความน่าสนใจในตัวเองแล้ว FDI ยังสามารถต่อยอดเชื่อมโยงไปยัง
การจัดประชุมเศรษฐกิจภูมิภาคตะวันออก (Eastern Economic Forum; EEF) เขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย สีหนุวิลล์ หวุ่งเตา (เวียดนาม) เขตเศรษฐกิจพิเศษ
เป็นประจ�าทุกปี โดยมีวลาดิวอสต็อกเป็นประตูสู่เอเชีย ในการประชุม EEF กว่างซีจ้วง (ใกล้พรมแดนจีน-เวียดนาม) ได้อีกด้วย จึงไม่น่าแปลกใจที่โครงการ
ครั้งที่ 3 เมื่อเดือนกันยายน 2560 ณ เมืองท่าวลาดิวอสต็อก ไทย-รัสเซีย EEC ได้รับความสนใจจากนักลงทุนทั่วโลก ไม่จ�ากัดเฉพาะญี่ปุ่น จีน รัสเซีย และ
เห็นพ้องกันในการเพิ่มมูลค่าการค้าสองฝ่ายเป็น 1 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ สิงคโปร์เท่านั้น เนื่องด้วยเป็นการรวมจุดเข้มแข็งของหลายประเทศเข้าไว้ด้วยกัน
ภายในปี 2563 (ที่มา: TPSO, www.tpso.moc.go.th) พร้อมทั้งขยาย จึงกล่าวได้ว่าโครงการ EEC เป็นกลไกส�าคัญที่จะท�าให้ประเทศไทยก้าวสู่
ความร่วมมือระหว่างท่าเรือแหลมฉบังและวลาดิวอสต็อก ในโอกาสเดียวกันนี้ การเป็นประเทศแนวหน้าด้านการค้าโลกอีกประเทศหนึ่ง
กระทรวงพาณิชย์ของไทยได้จัดกิจกรรมจับคู่ธุรกิจ (Business matching) ขึ้น
ซึ่งสินค้าไทยที่ฝ่ายรัสเซียให้ความสนใจมาก ได้แก่ อาหาร สปาและความงาม
และชิ้นส่วนยานยนต์และอะไหล่เสริม (เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์ของ
รัสเซียก�าลังเติบโต) ความสัมพันธ์สองฝ่ายไทย-รัสเซีย เป็นไปในลักษณะเกื้อกูลกัน
โดยรัสเซียน�าเข้าสินค้าเกษตร/อาหาร จากไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สินค้าอาหาร
เกี่ยวข้องกับความมั่นคงด้านอาหารของรัสเซียโดยตรง ในขณะที่ความสัมพันธ์กับ
ประเทศตะวันตกมีความเปราะบาง และรัสเซียน�าเข้าอาหาร/สินค้าเกษตรจาก
ประเทศตะวันตกลดลง ในด้านการน�าเข้าของไทยจากรัสเซียนั้น ส่วนใหญ่
เป็นสินค้าทุนและปัจจัยการผลิต เช่น เหล็ก น�้ามันดิบ และปุ๋ย เนื่องจากรัสเซีย
มีทรัพยากรธรรมชาติมากและอุดมสมบูรณ์ ล่าสุดเมื่อเดือนเมษายน 2560
JAN 2018 FOOD FOCUS THAILAND 23