Page 62 - FoodFocusThailand No.142_January 2018
P. 62
SURROUNDS
Samut Sakhon www.fish.ku.ac.th
Understanding Import-Export of Fishery Industry
ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดการอบรม
เชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “ก้าวทันการน�าเข้า-ส่งออกอุตสาหกรรมการแปรรูปสัตว์น�้า” ภายใต้
หลักสูตรการจัดการผลผลิตประมงหลังการจับสัตว์น�้าเพื่อเพิ่มมูลค่า ณ ห้องโชติกา โรงแรม
เซ็นทรัลเพลส เมื่อเร็วๆ นี้ โดยได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์
คณบดีคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวเปิดงาน รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย
วรวัฒนเมธีกุล หัวหน้าโครงการฯ กล่าวรายงาน และได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้มีความรู้
ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์จากหลากหลายหน่วยงาน อาทิ สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือ-
แห่งประเทศไทย กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพ
สินค้าประมง สมุทรสาคร และส�านักอาหาร ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา The Department of Fishery Products, Faculty of Fisheries, Kasetsart
ร่วมบรรยาย University held an operational training under the topic “Understanding
ในโอกาสนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐพงษ์ กล่าวว่า การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ Import-Export of Fishery Industry” as part of value-added fishery
management program at Chotika Room, Central Place Hotel. The training
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมประมงได้รับทราบถึงกฎระเบียบต่างๆ was honored by Associate Professor Dr.Shettapong Meksumpun, Dean of
ที่เกี่ยวข้อง โดยทางคณะประมงได้ร่วมมือกับกรมประมงในการระดมสมองเรื่องการออก Faculty of Fisheries, Kasetsart University, who gave an opening remark,
along with Associate Professor Dr.Wanchai Worawattanamateekul, who
กฎระเบียบและกฎหมายต่างๆ ผ่านทางการให้ความรู้กับผู้ประกอบการในชุมชน เพื่อให้ made the opening report. Not only that, the event welcomed knowledgable
ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวเข้าสู่มาตรฐานต่างๆ อาทิ กฎหมายควบคุมเครื่องมือประมง and experienced guest speakers from Thai National Shippers’ Council; the
Department of Fisheries, Ministry of Agriculture and Cooperatives; Samut
โดยควบคุมขนาดความกว้างของตาอวน เพื่อควบคุมขนาดของปลาที่จับได้ รวมทั้งการให้ Sakhon Fisheries Research and Quality Assessment; and Bureau of Food,
ค�าแนะน�าว่าเครื่องมือใดที่จะเหมาะกับการจับสัตว์น�้าในช่วงฤดูใด น่านน�้าใด นอกจากนี้ยัง Food and Drug Administration.
On this occasion, Associate Professor Dr.Shettapong, stated that this
ร่วมกันจัดท�ามาตรการควบคุมการท�าประมงหลังเปิดอ่าว ซึ่งจะช่วยให้เกิดการใช้ประโยชน์ operational training aims to enhance entrepreneurs in the fishery industry
จากทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเป็นแนวทางหนึ่งเพื่อรักษาทรัพยากรสัตว์น�้าอย่างยั่งยืน with awareness regarding related rules and regulations. So far, the Faculty
“แนวโน้มของอุตสาหกรรมประมง คือ การเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบสัตว์น�้าที่จับขึ้นมา of Fisheries has, along with the Department of Fisheries, brainstormed
about the enforcement of new rules and regulations, transferred knowledge
โดยเป็นการเพิ่มมูลค่าทั้งในด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ซึ่งจ�าเป็นต้องมีการส่งเสริม to local communities to help them adjust to new laws such as fishing gear
อย่างทั่วถึง ยกตัวอย่างเช่น การสนับสนุนผู้ประกอบการในระดับ SMEs ให้สามารถต่อยอดได้ control regulation which controls the size of the fishnets, as well as advised
them what tool is suitable for fishing in each season and each territorial
โดย SMEs จ�าเป็นต้องมีพี่เลี้ยง” รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐพงษ์ กล่าว พร้อมเสริมว่า waters. Moreover, the two organizations worked on fishing control measure
คณะประมงจะเป็นเสมือนพี่เลี้ยง โดยเลือกชุมชนที่มีความเข้มแข็งในระดับหนึ่ง ยกตัวอย่าง after the reopening of the gulf, which would effectively utilized natural
resources and sustainably preserve aquaculture resources.
ชุมชนต้นแบบ เช่น บ้านจมูกโพรง อ�าเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร แล้วเข้าไปให้ความรู้กับชุมชน “The trend in the fishery industry is to add value to the captured aquatic
เพื่อช่วยยกระดับสินค้าสัตว์น�้าในชุมชนให้เป็นสินค้าเกรดพรีเมียม ซึ่งทางคณะประมงได้ด�าเนินการ animals, both in terms of product and packaging, and it must be promoted
thoroughly. Promoting SMEs to be able to enhance this strategy, for
ในเรื่องนี้มากว่า 6 ปีแล้ว example, is necessary and they must be provided with a mentor”, said
นอกจากนี้ยังมีประเด็นเรื่องวิกฤตปลานิลที่ปัจจุบันมีปริมาณปลานิลล้นตลาด ส่งผลให้ Associate Professor Dr.Shettapong. He also added that the Faculty of
ราคาปลานิลตกต�่า จึงควรมีการประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรรับทราบถึงข้อมูลความเคลื่อนไหว Fisheries will be a mentor for particularly strong communities. Ban Cha-
Mook-Prong in Lang Suan district, Chumphon province, remarkably, is a
ของกลไกตลาด เพื่อประกอบการตัดสินใจและลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นอีกด้วย prototype village where the faculty has engaged with to improve the quality
ด้านผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัทมา ระตะนะอาพร หัวหน้าภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง กล่าวว่า of local fishery products to become premium grade, therefore, add value
to the goods. The faculty has engaged in this project for more than 6 years.
กลุ่มงานวิจัยของภาควิชาฯ สามารถแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ (1) การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสัตว์น�้า Moreover, the tilapia crisis occurred from the oversupply, which lowered
(2) การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือในอุตสาหกรรมสัตว์น�้า อาทิ การสกัดสารแอสตาแซนธีน the fish’s price, must be reported so that farmers are informed about the
market movement and make less risky decision.
จากเปลือกกุ้งขาว สารสกัดกลิ่นรสจากหัวกุ้ง (3) อาหารปลอดภัย และ (4) การแก้ปัญหา Assistant Professor Dr.Pattama Ratanaarporn, Head of Department
เฉพาะเรื่องในกระบวนการผลิต อาทิ การเพิ่มผลผลิต การปรับเปลี่ยนส่วนผสมอาหาร เป็นต้น of Fishery Products, informed that the department’s researches are divided
into 4 groups; (1) aquatic animal product development, (2) utilization of
ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมงมีการเรียนการสอนและการท�าวิจัยด้านผลิตภัณฑ์ประมง waste from aquatic animal processing such as Astaxanthin extract from
มีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษในสาขาเคมี ชีวเคมีของสัตว์น�้าและผลิตภัณฑ์ จุลชีววิทยาและ white shrimp shell and flavor extraction from shrimp’s head, (3) food safety,
and (4) emergency problem solving in food processing, e.g. how to increase
เทคโนโลยีชีวภาพของผลิตภัณฑ์ประมง การดูแลระหว่างการจับ ขนส่ง และหลังการจับสัตว์ yield and ingredients modification.
น�้า การแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมง และการประกันคุณภาพ Department of Fishery Products is responsible for the teaching and
ผลิตภัณฑ์ประมง การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือของผลิตภัณฑ์ประมง และการผลิตผลิตภัณฑ์ conducting research in the area of chemistry and biochemistry, microbiology
and biotechnology, post-harvest, processing, product development,
ที่ไม่ใช่อาหารจากผลิตผลทางการประมง engineering, quality control and quality assurance of fishery products,
ทั้งนี้ ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์ประมงเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากจีน นอร์เวย์ fishery products utilizations and non-food product from fishery produce.
Notably, Thailand is the 4 biggest exporter of fishery products, following
th
และเวียดนาม โดยมีมูลค่าการส่งออกมากกว่า 2 แสนล้านบาทต่อปี โดยสินค้าส�าคัญในการ China, Norway, and Vietnam. Its annual export value is worth more than
ส่งออก ได้แก่ กุ้งสดแช่เย็นและแช่แข็ง เนื้อปลาสดแช่เย็นและแช่แข็ง สัตว์น�้าบรรจุกระป๋อง THB200 billion from the export of chilled and frozen shrimp, chilled and
frozen fish fillet, canned seafood, etc.
เป็นต้น
60 FOOD FOCUS THAILAND JAN 2018