Page 40 - FoodFocusThailand No.145_April 2018
P. 40

STRONG QC & QA




                                                                           Centers for Disease Control and Prevention
                                                                           National Center for Emerging and Zoonotic
                                                                           Infectious Diseases (NCEZID)
                                                                           Division of Foodborne, Waterborne,
                                                                           and Environmental Diseases (DFWED)
                                                                           www.cdc.gov
                                                                           Translated by: กองบรรณาธิการ
                                                                                      Editorial Team
                                                                                       Food Focus Thailand
                                                                                      editor@foodfocusthailand.com



                                                                        เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะนับเป็นหนึ่งใน
                                                                        ปัญหาด้านสาธารณสุขที่ตึงเครียดมากที่สุดทั่วโลก
                                                                        การเจ็บป่วยจากที่เคยรักษาให้หายได้ง่ายด้วย
                                                                        ยาปฏิชีวนะก�าลังกลายเป็นเรื่องยากที่จะเยียวยา

                                                                        ให้หายขาด  และยิ่งจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นใน
                                                                        การรักษา  ปัจจุบัน  การติดเชื้อจากแบคทีเรีย
                                                                        ดื้อยาปฏิชีวนะ  เช่น Salmonella   จะกลายเป็น

                                                                        สาเหตุส�าคัญที่ท�าให้เกิดผลกระทบด้านสุขภาพ
                                                                        ที่รุนแรงยิ่งกว่าการติดเชื้อจากแบคทีเรียที่ไม่ดื้อยา
                                                                        ปฏิชีวนะเสียอีก
          เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะ...


          ภัยเงียบที่นับวันจะทวีความรุนแรง







          เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะคืออะไร?                  นั่นหมายความว่า การได้รับยาปฏิชีวนะจะก่อให้เกิดเชื้อแบคทีเรียสายพันธุ์
          เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะคือการที่แบคทีเรียนั้นมีความสามารถใน               ใหม่ที่มีแนวโน้มดื้อยาปฏิชีวนะ ซึ่งเกิดจากปัจจัยของการคัดเลือกแบบ
          การต่อต้านผลกระทบของยาปฏิชีวนะได้ นั่นหมายถึงแบคทีเรียจะไม่ถูกฆ่า  แรงกดดัน (Selective pressure) และยังสามารถต่อต้านในรูปแบบของ
          และยังไม่หยุดการเจริญเติบโต อีกทั้งเชื้อแบคทีเรียดื้อยาที่ยังมีชีวิต                 การ กลายพันธุ์ได้อีกด้วย
          เหลือรอดอยู่นั้นจะสามารถเพิ่มจ�านวนได้อย่างต่อเนื่องในร่างกายของ
          มนุษย์หรือสัตว์ ซึ่งจะก่อให้เกิดอันตราย และแพร่กระจายเชื้อโรค                                 การใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่ใช้เป็นอาหารหรือปศุสัตว์นั้น
          ต่อไปได้                                              มีผลกระทบต่อผู้บริโภคอย่างไร?
                                                                โดยทั่วไปสัตว์ทุกชนิดจะมีแบคทีเรียในล�าไส้ การให้ยาปฏิชีวนะกับสัตว์จะ
          เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะได้อย่างไร?               ท�าให้แบคทีเรียจ�านวนมากตาย แต่ส�าหรับเชื้อแบคทีเรียดื้อยานั้นกลับจะ
          เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะได้หลายทาง โดยแบคทีเรียมีหลายสายพันธุ์           สามารถมีชีวิตเหลือรอดและเจริญเติบโตต่อไปได้ เมื่อสัตว์ผ่านเข้าสู่โรงเชือด
          ที่สามารถ “ต่อต้าน” ยาปฏิชีวนะได้ด้วยการผลิตเอนไซม์บางอย่างท�าให้ยา  และกระบวนการแปรรูป เชื้อเหล่านั้นก็จะปนเปื้อนเข้าไปในเนื้อผลิตภัณฑ์
          ปฏิชีวนะไม่มีผล ในขณะที่บางสายพันธุ์สามารถขับยาปฏิชีวนะออกจาก  หรือติดไปกับผลิตภัณฑ์สัตว์ชนิดอื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถพบได้ใน
          เซลล์ได้ก่อนจะท�าอันตรายกับเซลล์ หรือบางสายพันธุ์สามารถเปลี่ยน  สิ่งแวดล้อมหรือในอุจจาระสัตว์ และอาจแพร่กระจายไปสู่แหล่งน�้าหรือ
          โครงสร้างภายนอกท�าให้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ท�าลายแบคทีเรียนั้นไม่สามารถ  ระบบชลประทานต่อไปได้
          เข้าท�าลายเซลล์แบคทีเรียได้                              เชื้อแบคทีเรียดื้อยาที่ปนเปื้อนในเนื้อสัตว์สามารถแพร่สู่คนได้หลายทาง
            เมื่อได้รับยาปฏิชีวนะ บางครั้งอาจมีเซลล์แบคทีเรียสักเซลล์หนึ่งที่ยังมี  อาทิ การหยิบจับ หรือรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ผ่านการปรุงสุก หรือเนื้อสัตว์
          ชีวิตเหลือรอดอยู่ได้เนื่องจากสามารถต่อต้านยาปฏิชีวนะ โดยแม้ว่าเป็นเพียง  ที่มีเชื้อแบคทีเรียดื้อยาปนเปื้อนในกระบวนการผลิต อีกทางหนึ่งคือ
          เซลล์เดียวที่ต่อต้านยาปฏิชีวนะได้ แต่เซลล์ๆ นั้นจะสามารถแบ่งตัวและเพิ่ม  การสัมผัสกับอุจจาระสัตว์ ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นจากแหล่ง
          จ�านวนแบบทวีคูณเพิ่มมากขึ้นแทนที่จ�านวนแบคทีเรียที่ถูกท�าลายไป               น�้าส�าหรับใช้อุปโภคบริโภค รวมถึงการว่ายน�้าหรือใช้น�้าในทางการเกษตร

       38  FOOD FOCUS THAILAND  APR  2018
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45