Page 42 - 149
P. 42

STRATEGIC R & DD
       STRATEGIC R &

          ฝ่ายบริการเทคนิคและประกันคุณภาพ
          Technical Service and Quality Assurance Department
          IPS International Co., Ltd.
          IPS.TSQA@gmail.com



      Obesity Situation



      and reducing sugar intake in Beverage Products


      สถานการณ์โรคอ้วน


      กับการลดการใช้น�้าตาลในผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม






       ปัจจุบันทั่วโลกก�ำลังรณรงค์เพื่อแก้ปัญหำน�้ำหนักเกิน (Overweight) โรคอ้วน   โภชนาการที่ดีซึ่งสอดคล้องกับประกาศ  ก็จะ

       (Obesity) และโรคที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ เบำหวำน ควำมดัน  สามารถใช้สัญลักษณ์ดังกล่าวบนฉลากบรรจุภัณฑ์
       โลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง และภำวะไตวำยเรื้อรัง เป็นต้น ทั้งนี้ โรคที่  ของผลิตภัณฑ์ได้ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้บริโภค
                                                                              สังเกตสัญลักษณ์ดังกล่าวเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบ
       เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนก็ก�ำลังเป็นภัยคุกคำมประชำกรในทั่วโลกและไทย        การตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณค่า
                                                                              โภชนาการดีกว่าผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันใน
         โรคอ้วน หมายถึง การมีปริมาณไขมันมากกว่าปกติ ไม่ได้หมายถึงการมีน�้าหนักมากอย่างเดียว
       โรคอ้วนเป็นโรคที่เกิดจากร่างกายสะสมพลังงานจากการรับประทานอาหารมากกว่าการเผาผลาญ  ท้องตลาด ซึ่งจะลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ
       อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน                                          โภชนาการเกินและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
         องค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) รายงานว่าในปี 2559 ประชากรอายุ  ส�าหรับผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มการลดการใช้
       มากกว่า 18 ปีขึ้นไปมีน�้าหนักเกิน โดยคิดเป็นประมาณร้อยละ 39 หรือมากกว่า 1.9 พันล้านคน        น�้าตาลย่อมส่งผลต่อรสชาติของผลิตภัณฑ์รวมถึง
       โดยเป็นผู้ที่เป็นโรคอ้วนประมาณร้อยละ 13  หรือมากกว่า 650 ล้านคน        การยอมรับของผู้บริโภค ดังนั้นจึงมีการใช้สาร-
         ส�าหรับประเทศไทย พบผู้ที่เป็นโรคอ้วนเฉลี่ยร้อยละ 31.6 หรือประมาณ 21 ล้านคน โดยแบ่ง  ทดแทนความหวานเพื่อจะเติมเต็มปริมาณความ-
       เป็นเพศชายร้อยละ 21.7 (14 ล้านคน) และเพศหญิงร้อยละ 35.4 (24 ล้านคน) เมื่อเปรียบเทียบใน  หวานที่ขาดหายไปในผลิตภัณฑ์ สารทดแทน
       ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบผู้ที่เป็นโรคอ้วนมากเป็นอันดับที่สอง รองจากประเทศ  ความหวานในปัจจุบันมีความหลากหลาย และ
       มาเลเซีย ตามด้วยประเทศสิงคโปร์ และฟิลิปปินส์                           แตกต่างกันไปในแต่ละประเภท ซึ่งให้รสหวานที่
         ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ก�าหนดหลักเกณฑ์ส�าหรับการขอใช้สัญลักษณ์  แตกต่างกัน  บางประเภทให้รสขมภายหลัง
       โภชนาการทางเลือกสุขภาพในแต่ละกลุ่มประเภทอาหาร โดยหากผลิตภัณฑ์นั้นๆ มีคุณค่าทาง  รับประทานจึงมีความพยายามในการพัฒนาสาร-
                                                                              สกัดจากธรรมชาติที่อยู่ในลักษณะของสารปรุงแต่ง
                                                                              กลิ่นรสที่สามารถทดแทนความหวานจากน�้าตาลได้
       ตารางที่ 1 ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลกและค่าจุดตัดของประชากรเอเชีย
       Table 1   The World Health Organization’s BMI and Asian Demographic Distribution.  แทนการใช้สารทดแทนความหวานโดยตรง
                                                                              เนื่องจากสารดังกล่าวจะท�าให้การรับรู้ความหวาน
                                       2
        ดัชนีมวลกาย (น�้าหนัก (กิโลกรัม)/ส่วนสูง (เมตร )) / Body Mass Index (Weight (kg)/Height (m ))
                                                                    2
                                                                              ของผู้บริโภคกลับมาใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ที่ใช้
                 กลุ่ม          เกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก  เกณฑ์ส�าหรับประชากรเอเชีย
                 Group               WHO Criteria         Asian Criteria      น�้าตาลในสูตรปกติได้อีกด้วย
        น�้าหนักเกิน / Overweight       ≥ 25                 ≥  23
        น�้าหนักเริ่มเกินพิกัด / Pre-obese  25 – 29.99  เสี่ยง (at risk) 23 - 24.99

        อ้วนระดับ 1 / Obese class 1  30 - < 34.99          25 – 29.99
        อ้วนระดับ 2 / Obese class 2  35 - < 39.99            ≥ 30
        อ้วนระดับ 3 / Obese class 3    ≥ 40.00                -

       ที่มา: ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, (2555)
       Source: Thai Health Promotion Foundation (ThaiHealth), 2012

       40 FOOD FOCUS THAILAND  AUG  2018
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47