Page 52 - 152
P. 52

STRONG QC &
             STORAGE, HANDLING & LOGISTICSQAANDLING & LOGISTICS
             STORAGE, H
                                                                     Efficient Kitchen

                                                                             Management...



                                                            To Reduce Food Waste



                                                                    ระบบการจัดการก้นครัวที่มีประสิทธิภาพ

                                                                                           เพื่อลดอาหารเหลือทิ้ง



            “…เราท้าทายตนเองด้วยการตั้งเป้าหมาย ที่จะลดความสูญเสียของอาหาร (Food Waste)            กฤชชัย อนรรฆมณี
            ลงร้อยละ  50  ภายในปี  2563  ...เป้าหมายนี้จะเป็นจริงได้ด้วยความกระตือรือร้นทุ่มเท                 Kritchai Anakamanee
            ของพนักงาน เพื่อสร้างสรรค์การปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง…”                             Lean and Productivity Consultant / Trainer
                                                                                                   kritchai.a@gmail.com
           “...We challenge ourselves by setting a goal to cut food waste by 50%
           within the year 2020 ... This goal could be achieved following employee’s
           enthusiasm to continuously create innovation...”


              IKEA ยักษ์ใหญ่ระดับโลก สัญชาติสวีเดน ประกาศนโยบายข้างต้น พร้อมกับเสริมว่า  • มีการพิจารณาและตรวจสอบว่า เศษอาหารที่น�าไปทิ้งนั้นสามารถน�าไปใช้
           ความสูญเสียที่ลดลงไปนั้นจะสามารถน�าไปผลิตอาหารได้ถึง 1 ล้านมื้อ  ประโยชน์อย่างอื่นได้อีกหรือไม่
              ข้อมูลที่น่าตกใจจาก World Food Program คือ อาหารถึงหนึ่งในสาม ที่โลกผลิต  • มีระบบการจัดการที่ท�าให้มั่นใจว่า พ่อ(แม่)ครัวมีความรู้และทักษะเพื่อให้
           ขึ้นมาต้องกลายเป็นของเสียหรือขยะ ความสูญเสียนี้เกิดขึ้นในทุกขั้นตอนตั้งแต่              การหั่นและตกแต่งนั้นมีเศษเหลือที่ไม่ต้องการน้อยที่สุด
           การเก็บเกี่ยว ขนส่ง โรงงานแปรรูป ผู้จัดจ�าหน่าย จนกระทั่งถึงผู้บริโภคท้ายสุด  4. อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัว ใช้งานได้ไม่ดี อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัว
              ตามเป้าหมาย 17 ข้อ ของการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยสหประชาชาติ SDG- เช่น ตู้เย็น ตู้แช่แข็ง เตาอบ เตาไฟฟ้า เครื่องดูดอากาศ เป็นต้น ต้องดูแลบ�ารุงรักษา
           Sustainable Development Goal ข้อ 2 คือ ขจัดความหิวโหยของประชากรโลก               ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ และอุปกรณ์เครื่องมืออื่นๆ เช่น มีด หม้อ กระทะ ก็ต้องจัดเก็บ
           ซึ่งนโยบายข้างต้นเกิดขึ้น เพื่อสอดรับกับวิสัยทัศน์ความยั่งยืน (Sustainability) นี้  อย่างเป็นระเบียบด้วย
              การลดความสูญเสียนั้น การจัดการภายในครัวอย่างมีประสิทธิภาพ คือปัจจัย  • มีการก�าหนดมาตรฐาน วิธีการ ผู้รับผิดชอบ และความถี่ในการท�าความสะอาด
           ส�าคัญประการหนึ่งที่ผมลองน�ามาคิดขยายความต่อถึงความสูญเสียต่างๆ ที่เกิดขึ้นจาก และดูแลบ�ารุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวอย่างไร เพื่อให้มั่นใจว่าท�างานได้ดีมี
           การจัดการที่ไม่ดีครับ                                   ประสิทธิภาพอยู่เสมอ
              1. วัตถุดิบหมดอายุ เสื่อมสภาพ ในครัวนั้นมีการจัดเก็บวัตถุดิบจ�านวนไม่น้อย   • มีการตรวจวัดอุณหภูมิของตู้เย็นและตู้แช่แข็งอย่างสม�่าเสมอ เพื่อให้มั่นใจว่า
           เปรียบได้กับคลังสินค้าที่ต้องมีการบริหารจัดการเพื่อไม่ให้ของขาด ของเกิน หรือจัดเก็บ อุณหภูมิอยู่ในค่ามาตรฐาน รักษาคุณภาพของวัตถุดิบได้ดี
           ไม่ดีส่งผลต่อคุณภาพวัตถุดิบ                                • มีการจัดเก็บอุปกรณ์เครื่องมืออย่างเป็นระเบียบ เพื่อลดเวลาในการหยิบใช้และ
              • มีระบบการบริหารจัดการสต๊อก และจัดซื้ออย่างไร เช่น วิธีการก�าหนดจุดสั่งซื้อ  จัดเก็บ
           (Reorder point) ปริมาณการจัดซื้อ (Lot size) ที่เหมาะสม     5. อาหารที่ลูกค้ารับประทานไม่หมด ความสูญเสียนี้สามารถร่วมรณรงค์
              • มีการจัดระเบียบพื้นที่จัดเก็บอย่างไร ทั้งที่อยู่ภายนอกและภายในตู้เย็น เพื่อให้ สร้างจิตส�านึกร่วมกับลูกค้าได้ เช่น มีการสื่อสารความสูญเสียของอาหารที่เกิดขึ้น ผ่าน
           ผู้เกี่ยวข้องรับทราบปริมาณวัตถุดิบในมืออยู่เสมอ         สื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ให้กับลูกค้ารับทราบหรือไม่ และด้วยวิธีการอย่างไร เป็นต้น
              • มีการชี้บ่งวันหมดอายุอย่างชัดเจน ทั้งวัตถุดิบที่เปิดใช้แล้วและยังไม่ได้เปิดใช้มี           นอกจากนี้ยังมีความสูญเสียอีกหลายอย่างที่สามารถพิจารณาเพิ่มเติมได้อีก เช่น
           ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบ เพื่อให้มั่นใจว่า วัตถุดิบได้ถูกน�าไปใช้ตามหลัก First In First Out  ความสูญเสียพลังงานจากการใช้งานอย่างไม่เหมาะสม ทั้ง Gas ที่ใช้ปรุงอาหาร ไฟฟ้า
              2. เตรียมอาหารมากเกินความต้องการลูกค้า อาหารบางรายการ ครัวต้อง        ส�าหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวและเครื่องปรับอากาศ ความสูญเสียน�้าในระหว่างการ-
           เตรียมการล่วงหน้าโดยการคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า เช่น เมนูตักเองของลูกค้า  ปรุงอาหาร และการล้างจานชามภาชนะที่ใช้มากเกินจ�าเป็น และความสูญเสียจาก
           สลัดบาร์ อาหารเช้าของห้องอาหารโรงแรม หรือบุฟเฟต์อื่นๆ   กระบวนการที่ไม่มีประสิทธิภาพ จัดล�าดับก่อนหลังไม่ดี การแบ่งงานกันภายในครัวไม่เหมาะสม
              • มีวิธีการก�าหนด รายการ และปริมาณอาหารที่ต้องจัดเตรียมล่วงหน้าอย่างไร         จะเห็นได้ว่า ความสูญเสียนี้ ไม่ได้มองเพียงสิ่งที่จับต้องได้เท่านั้น แต่ยังรวมความ
           มีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อคาดการณ์ความต้องการได้ดีแล้วหรือยัง   ไปถึง “กิจกรรมการท�างานที่ไร้ประสิทธิภาพหรือไม่สร้างคุณค่า” ด้วย ซึ่งเป็นหลักคิด
              • อาหารเหลือจากลูกค้าที่ปรุงไปแล้วในแต่ละวัน สามารถเก็บไปใช้ในวันถัดไป  ส�าคัญในระบบ Lean
           หรือสามารถน�าไปดัดแปลงเป็นเมนูอื่นได้หรือไม่               การลดความสูญเสียทั้งหมดที่กล่าวมา ขั้นตอนแรกที่ส�าคัญที่สุดคือ การสร้าง
              3. เศษอาหาร วัตถุดิบ จากการหั่น ตัดแต่ง วัตถุดิบจะถูกตัดชิ้นส่วนที่                         การรับรู้จนกระทั่งกลายเป็นความตระหนัก (Awareness) ว่าสิ่งเหล่านี้คือความสูญเสีย
           ไม่ต้องการออก เพื่อคัดเลือกเฉพาะส่วนที่ต้องการไปปรุงอาหาร และสร้างความสวยงาม  ที่สามารถปรับปรุงให้ลดลงได้ จากนั้นน�าไปปฏิบัติจนกระทั่งพัฒนากลายเป็นจิตส�านึก
           ดังนั้นต้องมีการดูแลจัดการเศษอาหารที่เกิดขึ้นนี้        (Mindset) เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการลดจ�านวน Food Waste ลงครับ




         52-53_Stroage Handling_Lean.indd   52                                                                      25/10/2561 BE   16:07
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57