Page 48 - 152
P. 48

STRONG QC & QA                                             ประวิทย์ เขียวระยับ
                                                                        Prawit Khieorayab
                                                                        Client Manager/Trainer
                                                                        British Standard Institution (BSI)
            Aseptic Filling…
                                                                        Prawit.Khieorayab@bsigroup.com
            A Component for Food Safety



            การบรรจุแบบปลอดเชื้อ กระบวนการส�าคัญด้านความปลอดภัยของอาหาร




            ระบบการบรรจุแบบปลอดเชื้อ (Aseptic packaging system)        3. การบรรจุนั้นกระท�าในสภาวะที่ปลอดเชื้อจนกว่าภาชนะนั้นจะบรรจุและ
            คือ  ระบบการบรรจุอาหารที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน                ปิดผนึกสมบูรณ์ ซึ่งการท�าให้บรรยากาศมีสภาพปลอดเชื้อมี 2 วิธี คือการใช้ความ

            ในกระบวนการท�าให้ปลอดเชื้อ (Aseptic processing) ที่ระดับ   ร้อน หรือการใช้รังสียูวี
            Ultra-High  Temperature  หรือ  UHT  เพื่อท�าให้ปลอดเชื้อ
            ทางการค้า  (Commercial  sterilization)  และบรรจุใน
            บรรจุภัณฑ์ที่ปลอดเชื้อภายใต้สภาวะที่ปลอดเชื้อ  (Aseptic

            condition) ทั้งนี้ ระบบการบรรจุอาหารที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วย
            ความร้อนเป็นส่วนหนึ่งของการแปรรูปและบรรจุแบบปลอดเชื้อ
            (Aseptic processing and packaging)

               การบรรจุแบบปลอดเชื้อ (Aseptic Filling) ประกอบด้วย 2 กระบวนการ
            พร้อมๆ กัน คือ
               1. การท�าให้อาหารปลอดเชื้อ (Aseptic processing) อย่างต่อเนื่อง
            โดยใช้อุณหภูมิสูงระยะเวลาสั้นและท�าให้เย็นลงอย่างรวดเร็ว โดยอาจให้อาหาร
            สัมผัสกับตัวกลางความร้อนโดยตรง (Direct heating) หรือใช้เครื่องแลกเปลี่ยน
            ความร้อน (Heat exchanger)
               2. การบรรจุแบบปลอดเชื้อ (Aseptic packaging system) ซึ่งเป็นการ-
            บรรจุและปิดผนึกอาหารที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วในบรรจุภัณฑ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อ                   รูปที่ 1 การบรรจุแบบปลอดเชื้อ
            (Pre-sterilized container) ในสภาวะที่ปลอดเชื้อ                            Fig. 1 Aseptic filling
               การบรรจุแบบปลอดเชื้อจึงเป็นเทคโนโลยีทางการบรรจุอาหารที่สามารถผลิต  การบรรจุผลิตภัณฑ์ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดเชื้อนิยมใช้การบรรจุในตู้ปลอดเชื้อ
            อาหารที่มีคุณภาพและมีโภชนาการสูงขึ้น มีอายุการเก็บที่ยาวนานในอุณหภูมิปกติ   ซึงจ�าเป็นต้องควบคุมความดันภายในให้สูงกว่าภายนอกหรือสภาพแวดล้อมปกติ
            โดยหลักการของการบรรจุแบบปลอดเชื้อต่างจากกระบวนการสเตอริไลส์ ซึ่งใช้         เล็กน้อย เพื่อป้องกันการเคลื่อนที่ของอากาศเข้าสู่ภายในบริเวณบรรจุ ซึ่งอาจน�า
            ในกระบวนการผลิตอาหารบรรจุกระป๋อง ถึงแม้ว่าใช้หลักการก�าจัดเชื้อจุลินทรีย์          เอาฝุ่นละอองและจุลินทรีย์เข้าสู่บริเวณบรรจุได้ นอกจากนี้ยังต้องใช้ระบบ
            เหมือนกัน แต่การผลิตอาหารกระป๋องจะใช้ความร้อนในการท�าลายเชื้อจุลินทรีย์  การกรองอากาศที่สามารถกรองเชื้อจุลินทรีย์ไม่ให้เข้าสู่บริเวณบรรจุได้
            ในอาหารที่บรรจุในภาชนะปิดสนิทเรียบร้อย ในขณะที่การบรรจุแบบปลอดเชื้อ
            ต้องประกอบด้วยหลักการ 3 อย่างคือ                        คุณสมบัติของภาชนะบรรจุที่เหมาะสมส�าหรับการบรรจุแบบปลอดเชื้อ
               1. อาหารต้องผ่านการฆ่าเชื้อด้วยวิธีที่เหมาะสม โดยท�าให้ปลอดเชื้อในระดับ  วัสดุที่ใช้ในการบรรจุแบบปลอดเชื้อมีหลากหลายชนิด เช่น กระดาษ แก้ว
            ทางการค้า ซึ่งหมายความว่าอาหารต้องไม่มีเชื้อจุลินทรีย์ที่สามารถเจริญเติบโตได้อีก  พลาสติก อะลูมิเนียมรวมทั้งวัสดุลามิเนต ภาชนะบรรจุมีหน้าที่ป้องกันอาหารให้
            ในระหว่างการเก็บรักษาและการขนส่งที่อุณหภูมิปกติและปราศจากสารพิษหรือ  มีความปลอดภัยและช่วยยืดอายุการเก็บรักษา ภาชนะบรรจุต้องมีการคงสภาพ
            โรคจากจุลินทรีย์ โดยวิธีการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ในอาหารนิยมใช้ความร้อนโดยตรง     และสามารถรักษาสภาวะปลอดเชื้อได้ ทั้งนี้ ภาชนะบรรจุต้องมีคุณสมบัติป้องกัน
            กับอาหารที่เป็นของเหลว และวิธีการใช้ความร้อนทางอ้อมกับอาหารที่ข้นหนืด           การซึมผ่าน (Barrier) ที่ดีของก๊าซออกซิเจน ความชื้น แสงและกลิ่น เพื่อช่วยรักษา
            และมีชิ้นส่วนและชิ้นอาหารปะปนอยู่ซึ่งความร้อนจะไม่สัมผัสกับอาหารโดยตรง   คุณภาพของสินค้า การเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับการบรรจุแบบปลอดเชื้อ คือ
            ในปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ในการฆ่าเชื้อในอาหาร เช่น การใช้คลื่นความถี่วิทยุ   1. วัสดุมีคุณสมบัติป้องกันการซึมผ่านของก๊าซออกซิเจนและไอน�้าได้ดีมาก
            ความร้อนจากไมโครเวฟ พลังงานจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือการใช้รังสียูวี   2. วัสดุที่ใช้จะต้องไม่ท�าปฏิกิริยากับอาหารหรือผลิตภัณฑ์ภายใต้สภาวะ
            เป็นต้น                                                 การบรรจุแบบปลอดเชื้อ เช่น การเปลี่ยนแปลงสีหรือกลิ่นของอาหาร และภาชนะ
               2. ภาชนะส�าหรับบรรจุต้องผ่านการฆ่าเชื้อด้วยวิธีที่เหมาะสม เช่น การฆ่าเชื้อ  บรรจุต้องไม่เกิดการเสียรูป มีการคงทนสภาพทางกายภาพในระหว่างการบรรจุ
            ด้วยความร้อน สารเคมี (ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์) หรือรังสี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของ  เพราะถ้าเลือกวัสดุหรือภาชนะที่ไม่เหมาะสม จะท�าให้ภาชนะบรรจุนั้นไม่สามารถ
            ภาชนะบรรจุ                                              รักษาสภาวะปลอดเชื้อได้


         48-49_Strong QC&QA_BSI.indd   48                                                                           25/10/2561 BE   16:18
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53