Page 55 - 152
P. 55

SURF THE AEC

                 ท�ำให้กำรเชื่อมโยงท�ำได้ง่ำยขึ้น นอกจำกนั้นเมียนมำเองก�ำลังวำงรำกฐำน  เขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งใหม่
                 ในกำรพัฒนำด้ำนกำรศึกษำในระยะยำวอีกด้วย                จีนและเมียนมำอยู่ระหว่ำงกำรเจรจำโดยได้มีกำรลงบันทึกข้อตกลงควำมร่วมมือ
                                                                       (MOU) หำกเขตเศรษฐกิจฯ เสร็จสมบูรณ์ ซึ่งจะช่วยให้สินค้ำที่ผลิตในเมียนมำ
                 การส่งออกของเมียนมา
                 ในเดือนเมษำยน 2561 มีกำรส่งออกคิดเป็นมูลค่ำ 588.67 ล้ำนเหรียญ-  สำมำรถส่งออกไปยังประเทศจีนได้อย่ำงสะดวก และกำรพัฒนำภำคกำรท่องเที่ยว
                                                                       ให้ขยำยตัวมำกขึ้น นักลงทุนไทยที่สนใจเจำะตลำดจีนไม่ควรมองข้ำมเขต
                 สหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 42.44 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้ำ
                 โดยสินค้ำส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่ ก๊ำซธรรมชำติ ไม้และผลิตภัณฑ์จำก             เศรษฐกิจนี้
                                                                         ถนนเชื่อมไทย-เมียนมำ-อินเดีย หรือ ถนนสำยไตรภำคีไทย-เมียนมำ-อินเดีย
                 ไม้ อำหำรประเภทเนื้อ สัตว์น�้ำ เสื้อผ้ำ ธัญพืช ตลำดส่งออกที่ส�ำคัญของ
                 เมียนมำ ได้แก่ จีน (ร้อยละ 40) ไทย (ร้อยละ 20) อินเดีย (ร้อยละ 9)   ตัดผ่ำนจำกแม่สอด-ย่ำงกุ้ง-มัณฑะเลย์-ตำมู (เมียนมำ) และโมเร่ (อินเดีย) ซึ่งอยู่
                                                                       ระหว่ำงกำรก่อสร้ำง คำดว่ำจะแล้วเสร็จภำยในปี 2561 นี้ โดยช่วงที่ยังไม่แล้วเสร็จ
                 สิงคโปร์ (ร้อยละ 7.6) และญี่ปุ่น (ร้อยละ 5.7)
                                                                       เป็นช่วงมัณฑะเลย์-ชำยแดน (เมียนมำ-อินเดีย) ซึ่งอยู่ระหว่ำงติดตั้งป้ำยสัญญำณ
                 การน�าเข้า                                            เส้นทำงนี้จะสำมำรถลดเวลำกำรขนส่งไทย-อินเดีย จำกเวลำนับเดือนเหลือแค่ครึ่งวัน
                 ในเดือนเมษำยน 2561 คิดเป็นมูลค่ำ 913.29 ล้ำนเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น            สินค้ำส่งออกที่คำดว่ำจะได้ประโยชน์จำกเส้นทำงนี้ในกำรเจำะตลำดเมียนมำและ
                 ร้อยละ 38.89 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้ำ โดยกลุ่มสินค้ำน�ำเข้ำ  อินเดีย ได้แก่ อำหำรแปรรูป เครื่องจักรกลทำงกำรเกษตร ยำนยนต์ ด้ำย ผ้ำผืน
                 ที่ส�ำคัญ ได้แก่ เครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่งที่ไม่ใช้ไฟฟ้ำ สิ่งทอ แหล่งน�ำเข้ำ  หนังฟอก น�้ำตำล และเม็ดพลำสติก
                 ที่ส�ำคัญของเมียนมำ ได้แก่  จีน (ร้อยละ 35) สิงคโปร์ (ร้อยละ 15) ไทย           ขณะที่กำรน�ำเข้ำจะได้ประโยชน์จำกกำรที่เมียนมำและอินเดียอุดมสมบูรณ์
                 (ร้อยละ 12) ญี่ปุ่น (ร้อยละ  7.9) อินเดีย (ร้อยละ 7) และมำเลเซีย (ร้อยละ 4)  ด้วยทรัพยำกรธรรมชำติที่จ�ำเป็นต่อภำคกำรผลิตของไทย อำทิ เมียนมำ
                                                                       อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยำกรประมง อัญมณี ทองค�ำ น�้ำมัน ก๊ำซธรรมชำติ ไม้สัก
                 การค้าไทย-เมียนมา                                     ไม้ซุง และหินปูน ส่วนอินเดียมีถ่ำนหิน (มำกเป็นอันดับ 4 ของโลก) เหล็ก แมงกำนีส
                 กำรค้ำไทย-เมียนมำ ปี 2560 มีมูลค่ำ 6,784.23 ล้ำนเหรียญสหรัฐ โดย  (อันดับ 7 ของโลก) ไมก้ำ บอกไซต์ (อันดับ 5 ของโลก) โครไมต์ ก๊ำซธรรมชำติ
                 ไทยเป็นฝ่ำยได้ดุลกำรค้ำ 4,308 ล้ำนเหรียญสหรัฐ
                                                                       เพชร หินปูน ทอเรียม (อันดับ 1 ของโลก แหล่งใหญ่อยู่ชำยฝั่งเกเรลำ) จึงเป็นไป
                                                                       ได้สูงที่จะมีกำรแลกเปลี่ยนปัจจัยกำรผลิต/วัตถุดิบผ่ำนเส้นทำงนี้เพิ่มขึ้นมำก
                                                                       นอกจำกนั้น อินเดียยังมองข้ำมช้อตใช้ไทยเป็นประตูเจำะตลำด CLMV อีกด้วย
                                                                       ซึ่งแน่นอนว่ำโลจิสติกส์ไทยจะได้ประโยชน์เต็มๆ

















                    • กำรส่งออกจำกไทย ได้แก่ น�้ำมันส�ำเร็จรูป เครื่องดื่ม เคมีภัณฑ์ เหล็ก
                 เครื่องจักร น�้ำตำลทรำย ผ้ำผืน เครื่องส�ำอำง ผลิตภัณฑ์ข้ำวสำลี/อำหำร-
                 ส�ำเร็จรูป และเม็ดพลำสติก
                    • กำรน�ำเข้ำจำกเมียนมำ ได้แก่ ก๊ำซธรรมชำติ (ร้อยละ 75 ของกำรน�ำเข้ำ
                 จำกเมียนมำ) สินแร่ เนื้อสัตว์ สัตว์มีชีวิต สัตว์น�้ำ พืช และไม้ซุง

                 มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI)
                 เดือนเมษำยน 2560 จนถึงเดือนมีนำคม 2561 มีมูลค่ำอยู่ที่ 5,718 ล้ำน-
                 เหรียญสหรัฐ โดยมีสิงคโปร์เป็นผู้ลงทุนอันดับ 1 มูลค่ำ 2,164 ล้ำนเหรียญ
                 สหรัฐ รองลงมำคือ จีน มูลค่ำ 1,395 ล้ำนเหรียญสหรัฐ ตำมด้วย
                 เนเธอร์แลนด์ และเกำหลีใต้ ตำมล�ำดับ ส่วนไทยอยู่ล�ำดับที่ 9 มีมูลค่ำ
                 124 ล้ำนเหรียญสหรัฐ อุตสำหกรรมที่ต่ำงชำติเข้ำมำลงทุนมำกที่สุด
                 ในช่วงปีนี้ คือ อุตสำหกรรมกำรผลิต อสังหำริมทรัพย์ กำรคมนำคม
                 และกำรสื่อสำร และอุตสำหกรรมโรงแรมและกำรท่องเที่ยว



                                                                                                  NOV  2018 FOOD FOCUS THAILAND  55


         54-57_Surf the AEC_����.indd   55                                                                          24/10/2561 BE   19:09
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60