Page 37 - FoodFocusThailand No.158 May 2019
P. 37

SPECIAL FOCUS

                 สามารถวิเคราะห์สารได้หลากหลาย โดยเครื่อง HPLC   ตรวจสอบคุณภาพในไลน์การผลิต ในความเป็นจริง
                 ที่ประกอบร่วมกับ Diode Array Detector (DAD) หรือ   แม้องค์กรจะใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ  หรือมี
                 Photo Diode Array (PDA) และ Evaporative Light   ความละเอียดมากน้อยเพียงใด แต่หากยังขาดการวางแผน
                 Scattering Detector (ELSD) นอกจากนั้น HPLC ยัง  การสุ่มตัวอย่างในไลน์ผลิตที่มีประสิทธิภาพผลการตรวจสอบ
                 สามารถวิเคราะห์หาสารพิษเชื้อราซึ่งหากเครื่องได้  หรือทดสอบนั้นอาจจะไม่ได้เป็นตัวแทนที่ดีส�าหรับการ-
                 ประกอบกับ Fluorescent Detector และ UV Detector   ยืนยันด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุดิบนั้นๆ
                 โดยมีระบบ Pre-column Derivatization ซึ่งแสงของ
                 UV จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการวิเคราะห์สารพิษจาก  การสุ่มตรวจคุณภาพส�าหรับผลิตภัณฑ์อาหาร
                 เชื้อราประเภทอะฟลาทอกซินได้เป็นอย่างดี   และวัตถุดิบสามารถจ�าแนกออกเป็น 2 ประเภท
                    HPLC สามารถวิเคราะห์สารที่เป็นสูตรผสมของ  1. วิธีตรวจสอบทุกชิ้น (Screening inspection) คือ
                 อาหาร เช่น ปริมาณน�้ามัน และไขมัน น�้าตาล โปรตีน   การตรวจสอบสินค้าแบบ 100  (100% Inspection) วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายและใช้กันทั่วไปส�าหรับ
                 วิเคราะห์สารที่อยู่ในกลุ่มกรดอินทรีย์ในอาหารเพื่อ  การตรวจสอบที่ไม่ท�าให้สินค้าเสียหา เพื่อเป็นการหาของเสีย (Defective) จากกระบวนการผลิต เช่น
                 ตรวจสอบความสด หรือเครื่องดื่ม เช่น กรดฟอสฟอริก   การตรวจสอบฉลากของผลิตภัณฑ์อาหารทุกห่อหรือภาชนะบรรจุ มีการระบุข้อความส�าคัญ เช่น
                 กรดฟอร์มิก กรดแอซีติก และวิเคราะห์ปริมาณสาร-  สารก่อเกิดภูมิแพ้ ข้อมูลวิธีการรับประทานหรือบริโภคถูกต้องกับผลิตภัณฑ์ทุกห่อหรือไม่ หรือ
                 เติมแต่งในอาหารเพื่อตรวจสอบคุณภาพ เช่น กรด        การตรวจสอบน�้าหนักบรรจุทุกผลิตภัณฑ์ 100% เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ทุกชิ้นมีน�้าหนักที่ถูกต้อง
                 เบนโซอิก กรดซอร์บิก กรดดีไฮโดรแอซีติก เป็นต้น  2. วิธีการสุ่มตัวอย่างจากแต่ละรุ่น (Sampling) การสุ่มตัวอย่างจากสินค้าในแต่ละรุ่นเป็น
                    •  การตรวจวิเคราะห์หาสารต่างชนิดในรูปแบบ  การหลีกเลี่ยงวิธีตรวจสอบแบบ 100% ในการผลิตสินค้าครั้งละจ�านวนมากๆ รวมกันเป็นกลุ่มก้อน
                 ของสารอินทรีย์ โดยใช้เครื่องทดสอบที่เรียกว่า NIR   จะเรียกว่า รุ่น (Lot) เช่น วัตถุดิบที่ส่งเข้ามาในโรงงานแต่ละครั้ง หรือผลิตภัณฑ์ส�าเร็จรูปที่ผลิต
                 Spectroscopy ซึ่ง NIR ย่อมาจาก Near-infrared          เสร็จในแต่ละช่วงเวลาหรือในแต่ละวัน ถือเป็น 1 รุ่น แทนที่จะตรวจสอบทุกชิ้นก็จะสุ่มเลือก
                 เป็นวิธีการวิเคราะห์โมเลกุลที่ไม่ท�าลายตัวอย่าง          บางชิ้นในแต่ละรุ่นมาตรวจสอบเท่านั้น และมีเกณฑ์ที่ก�าหนดในการตัดสินใจว่าจะยอมรับ
                 อาศัยการตรวจวัดปริมาณแสงที่ถูกดูดกลืนโดย  (Accept) หรือจะปฏิเสธ (Reject) วัตถุดิบหรือสินค้าส�าเร็จรูปทั้งรุ่นที่สุ่มมาตรวจสอบ ซึ่งเกณฑ์
                 ตัวอย่างในช่วงความยาวคลื่นประมาณ 400-2,500   ดังกล่าวอาจจะอ้างอิงจากตารางการสุ่ม AQL (Acceptable Quality Level) หรือตารางระดับ
                 นาโนเมตร เป็นวิธีการที่ให้ผลที่ดีและรวดเร็ว ถูกน�ามา  คุณภาพที่ยอมรับได้ หรือขีดจ�ากัดคุณภาพที่ยอมรับได้ ซึ่งเป็นแผนการสุ่มตัวอย่างที่มีประสิทธิภาพ
                 ใช้ในการตรวจวัดผลิตภัณฑ์ทั้งในเชิงปริมาณและ  อย่างมาก
                 คุณภาพ ตั้งแต่การตรวจสอบวัตถุดิบไปจนถึงการ-
                 ตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้
                    หลักการท�างานของเครื่องจะใช้วิธีการฉายคลื่น
                 แสง NIR ลงไปในตัวอย่าง จากนั้นตัวอย่างผลิตภัณฑ์
                 จะดูดกลืนคลื่นพลังงานและก่อให้เกิดการกระตุ้น
                 การสั่นสะเทือนของโมเลกุลใน Functional groups
                 ต่างๆ 2 ลักษณะ คือ การยืดหด (Stretching) และ
                 การเปลี่ยนมุม (Blending) ช่วงความถี่ Overtones
                 และ Combination ของหมู่ฟังก์ชัน O-H, C-H, N-H
                 และ O=H ซึ่งเป็นโมเลกุลหลักของสารอินทรีย์ และ
                 ถ้าหากโครงสร้างโมเลกุลของสารตัวอย่างที่ตรวจวัด
                 มีความซับซ้อน สเปคตรัมที่ได้จะยิ่งมีการซ้อนทับกัน
                 มากขึ้น เมื่อวิเคราะห์สเปคตรัมเหล่านี้จึงต้องแยกแยะ
                 และแสดงลักษณะเฉพาะโดยน�าวิธีการทางคณิตศาสตร์
                 และสถิติ (Chemometrics) มาใช้ในการหาค่าเฉลี่ย
                    NIR Spectroscopy ได้ถูกประยุกต์ใช้ในการ-
                 ตรวจสอบวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์หลากหลายรูปแบบ
                 เช่น ใช้ในการจ�าแนกความแตกต่างของวัตถุ เช่น
                 สารที่เป็น Excipients หรือสารที่มีน�้าเป็นองค์ประกอบ
                 การจ�าแนกความสุกของผลมะม่วงแต่ละลูก
                 การแยกแยะรูปแบบของ Polymorph ในสารประกอบ
                 ของตัวยาในรูปของยาอัดเม็ด การวิเคราะห์ขนาด
                 อนุภาคที่อยู่ในระหว่างกระบวนการท�าให้เป็นเม็ดเล็กๆ
                    ซึ่งจากที่กล่าวมาเป็นเพียงตัวอย่างวิธีการ-

                                                                                                  MAY  2019 FOOD FOCUS THAILAND  37


         36-39_Special Focus_BSI.indd   37                                                                           22/4/2562 BE   18:06
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42