Page 36 - FoodFocusThailand No.158 May 2019
P. 36

SPECIAL FOCUS















             การตรวจสอบในไลน์การผลิต





             การตรวจสอบในไลน์การผลิตเป็นการทวนสอบเพื่อยืนยันถึงประสิทธิภาพ
             และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนขั้นตอนการท�างานในองค์กร โดยการ-                    เสฏฐวุฒิ ยอดนันทพัฒน์
                                                                                             Settawoot Yoodnunthaphat
             ตรวจสอบแบ่งออกเป็นการตรวจสอบในเชิงกายภาพ ตั้งแต่การใช้ประสาทสัมผัส              Client Manager
             ต่างๆ  ของทางร่างกาย  (Organoleptic  or  Sensory  test)  ไปจนถึงการใช้              British Standards Institution (BSI)
                                                                                             settawoot.yoodnunthaphat@bsigroup.com
             เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ต่างๆ มาร่วมทดสอบ



               เรามาท�าความรู้จักวิธีการทดสอบผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ ที่โรงงานผลิต  การตรวจสอบค่าเฉพาะ (Specific parameter) โดยเป็นการตรวจค่า
            อาหารส่วนใหญ่ได้น�าไปใช้ โดยเริ่มตั้งแต่                พารามิเตอร์เฉพาะของอาหาร หรือวัตถุดิบแต่ละประเภท เช่น
                                                                       •  การตรวจวิเคราะห์หาสารต่างชนิดในรูปแบบของก๊าซ กลิ่นในอาหาร
            1. การตรวจสอบด้วยประสาทสัมผัส (Organoleptic or Sensory   โดยตามธรรมชาติแล้วมนุษย์สามารถแยกหรือตอบสนองสารให้กลิ่นได้ถึง
            Test) คือ การตรวจสอบโดยอาศัยประสาทสัมผัสของมนุษย์ ได้แก่   5,000 – 10,000 ชนิด แต่ยังมีสารให้กลิ่นอีกหลายชนิดที่มนุษย์ไม่สามารถ
               •  ประสาทสัมผัสทางตาเพื่อแยกความแตกต่างทางด้านสีสัน (Color)   แยกหรือจ�าแนกได้อย่างชัดเจน เครื่องวิเคราะห์สาร Gas Chromatography
               •  ประสาทสัมผัสทางการสัมผัส เช่น การบดเคี้ยว การบีบหรือสัมผัสด้วย  (GC) เป็นเครื่องมือหนึ่งที่สามารถใช้แยกสารให้กลิ่นแต่ละชนิดให้เกิด
            มือเพื่อรับรู้ถึงเนื้อสัมผัส (Texture)                  ความชัดเจนยิ่งขึ้น โดยอาศัยความแตกต่างของอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละ
               •  ประสาทสัมผัสทางการดมกลิ่น เพื่อแยกหรือรับรู้ทางด้านกลิ่นของ  องค์ประกอบของสารผสมบนเฟสคงที่ (Stationary phase) ภายใต้การพา
            ผลิตภัณฑ์ (Odor)                                        ของเฟสเคลื่อนที่ (Mobile phase) คือ ก๊าซฮีเลียม อย่างไรก็ตาม การทดสอบ
               •  ประสาทสัมผัสการรับรู้รสชาติโดยการชิม เพื่อแยกรสชาติต่างๆ ของ  ด้วยเครื่อง GC จะได้ผลออกมาเป็นเชิงปริมาณ ไม่สามารถวิเคราะห์สารที่มี
            อาหาร (Taste)                                           ความซับซ้อน ไม่สามารถบอกได้ว่าสารระเหยที่แยกได้นั้นสารใดเป็นสารที่ให้
               •  ประสาทสัมผัสทางการได้ยิน หรือการฟัง เช่น การแยกความแตกต่าง  กลิ่นหรือไม่ ดังนั้น เครื่องมือดังกล่าวจึงได้ถูกพัฒนาต่อพ่วงกับอุปกรณ์
            ความกรอบของผลิตภัณฑ์ (Crispness)                        Mass Spectrometry (MS) เป็น Gas Chromatography-Mass Spectrometry
               ซึ่งการตรวจสอบด้วยวิธีนี้จ�าเป็นต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และ  (GC-MS) ที่สามารถวิเคราะห์ผลและรายงานได้ถึงชนิดสารระเหยในแต่ละ
            ประสบการณ์เป็นผู้ทดสอบ เนื่องจากเป็นการตัดสินใจโดยตัวบุคคลเท่านั้น   องค์ประกอบ โดยหลักการท�างาน คือ สารต่างๆ ที่แยกได้จากเครื่องแยก
                                                                    สารที่ใช้ก๊าซเป็นตัวพา (Gas chromatography) และสารเชิงเดี่ยวต่างๆ
            2. การตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ (Instrumental Analysis) คือ   เหล่านั้นเข้าสู่ส่วนของ MS โมเลกุลของสารเชิงเดี่ยวจะได้รับพลังงาน
            การตรวจสอบเพื่อยืนยันค่าต่างๆ ในอาหารโดยใช้เครื่องมือวัด หรืออุปกรณ์ต่างๆ   จากล�าแสงอิเล็กตรอนพลังงานสูงที่ค่า 70 อิเล็กตรอนโวลต์ เพื่อท�าให้เกิด
            เป็นตัวรายงานผล โดยขอยกตัวอย่างเครื่องมืออุปกรณ์ที่มีใช้กันทั่วไปจนถึง  การแตกตัวอยู่ในรูปประจุ เรียกว่า “Molecular ion, M  หรือ M ” ซึ่งท�าให้เกิด
                                                                                                            +.
                                                                                                       +
            เครื่องมือส�าคัญที่สามารถวิเคราะห์ และแสดงผลได้โดยละเอียด  การจ�าแนกประเภทหรือองค์ประกอบต่างๆ
               2.1 การตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ในอาหารเบื้องต้น คือ การตรวจสอบ  GC และ GC-MS สามารถตรวจวิเคราะห์หาก๊าซ เช่น ก๊าซไฮโดรเจน
            คุณภาพของอาหาร หรือวัตถุดิบอย่างง่าย ได้แก่ การตรวจค่า pH, Brix, water   สารประกอบกลุ่มแอลกอฮอล์ เอสเทอร์ อัลดีไฮด์ คีโตน น�้ามันหอมระเหย
            activity (a ), Moisture Content (MC) ซึ่งปัจจุบันจะมีเครื่องมือหรืออุปกรณ์           กลุ่มกรดไขมัน และเมทิลเอสเตอร์ และกรดไขมันจ�าเป็นในตัวอย่าง ได้แก่
                   w
            ที่ออกแบบมาเพื่ออ�านวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานในรูปแบบที่หลากหลาย   DHA หรือ EPA ในน�้ามันปลา
            ตั้งแต่อุปกรณ์ตรวจวัดลักษณะพกพา (Handheld) ไปจนถึงเครื่องมือที่ต้อง            •  การตรวจวิเคราะห์หาสารต่างชนิดในรูปแบบของเหลว อาทิ อาหาร ยา
            ติดตั้งอยู่กับที่และสามารถใช้หรือรายงานผลได้มากกว่าหนึ่งฟังก์ชัน                        เครื่องส�าอาง และสารสกัดสมุนไพร ซึ่งอยู่ในรูปแบบของเหลว โดยส่วนใหญ่
            (Multi-function instrument)                             มักจะเห็นการใช้เครื่องมือ High Performance Liquid Chromatography
               2.2 การตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ในอาหารเชิงลึก หรือเรียกว่า                    (HPLC) ซึ่งเป็นเครื่องมือแยกและวิเคราะห์สารที่อยู่ในรูปของเหลว ท�าให้

             36  FOOD FOCUS THAILAND  MAY   2019


         36-39_Special Focus_BSI.indd   36                                                                           22/4/2562 BE   18:06
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41