Page 53 - FoodFocusThailand No.158 May 2019
P. 53

SCOOP
                                                                                                                   SCOOP
                                ดิลก ปืนฮวน

                                Dilok Puanhvuan
                                Faculty of Engineering, Mahidol University
                                dilok.ee52@gmail.com









                  เครื่องวัดค่าความเค็มในอาหาร






                  โดยทั่วไปความเค็มในอาหารสามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทรับรสของมนุษย์ ผู้ปรุงอาหารสามารถเพิ่มรสเค็ม
                  ด้วยผลิตภัณฑ์ต่างๆ  เช่น  เกลือบริโภค  น�้าปลา  ซีอิ๊ว  เป็นต้น  ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีส่วนผสมของ
                  เกลือโซเดียม (NaCl) เมื่อเติมในปริมาณที่มากเกินไปจะส่งผลให้ปริมาณโซเดียมที่ร่างกายต้องการใน
                  1 วัน เกินมาตรฐานได้ ส่งผลให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หรือโรคไต เป็นต้น



                     การปรุงอาหารที่มีรสเค็มจัดอาจเกิดจากประสาทรับรสของผู้ปรุงและ             ของเครื่องวัดความเค็มนี้ใช้พื้นฐานการน�าไฟฟ้า
                  ผู้บริโภคมีการปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ปริมาณเกลือโซเดียมที่ได้รับเข้าสู่   (Conductivity) โดยปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน
                  ร่างกายมีแนวโน้มที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ความสามารถในการรับ  ตัวอย่างอาหารจะแปรผันตรงกับปริมาณ
                  รสเค็มของแต่ละบุคคลอาจมีค่าไม่เท่ากัน ดังนั้น การใช้เครื่องมือที่สามารถ  โซเดียมคลอไรด์ ส่งผลให้ระบบ
                  ตรวจรู้ค่าความเค็มที่เป็นมาตรฐานจะช่วยให้บุคคลทั่วไปตระหนักถึง          ค�านวณหาปริมาณเปอร์เซ็นต์
                  ปริมาณเกลือโซเดียมในอาหารมากขึ้น                      โซเดียมคลอไรด์ได้อย่างรวดเร็ว
                                                                           เครื่องวัดความเค็มในอาหาร 1
                  การตรวจวัดปริมาณเกลือโซเดียม                          ประกอบด้วยตัวประมวลผลไมโคร-
                  การตรวจวัดปริมาณเกลือโซเดียมสามารถท�าได้หลายวิธี ซึ่งวิธีที่มีความ-  คอนโทรลเลอร์ที่ท�าหน้าที่ก�าเนิดพัลส์
                  แม่นย�าที่สุด คือ การน�าตัวอย่างอาหารไปวิเคราะห์เชิงเคมีในห้องปฎิบัติการ   สัญญาณให้กับวงจรสร้างพัลส์แรงดันกระแสสลับขนาดเล็กไปที่โพรบวัด
                  ท�าให้สามารถตรวจหาปริมาณโซเดียมในหน่วยกรัมต่อมิลลิลิตร ทั้งนี้             สัญญาณ โดยโพรบนี้ประกอบไปด้วยขั้วแอโนดและแคโทด เมื่อโพรบจุ่มอยู่ใน
                  เครื่องวิเคราะห์เชิงเคมีนี้มีราคาที่สูงและใช้เวลาในการทดสอบนาน วิธีการ         ตัวอย่างอาหาร ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านจากขั้วแอโนดไปยังแคโทดจะ
                  ที่วัดปริมาณเกลือโซเดียมอย่างง่ายที่สุด คือ การวัดทางอ้อมด้วยการวัด               แปรผันกับปริมาณโซเดียมในตัวอย่างอาหารนั้น ซึ่งปริมาณประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านนี้
                  ค่าความน�าไฟฟ้าในตัวอย่างอาหาร หลักการท�างานคือ โซเดียมซึ่งมีขั้ว  เรียกอีกอย่างว่าค่าความน�าไฟฟ้า ทั้งนี้ ประจุไฟฟ้าจะมีค่าน้อยมาก ระบบจึง
                  ประจุไฟฟ้า เมื่อมีปริมาณมากขึ้น ค่าความต้านทานในตัวอย่างอาหารลดลง   ต้องมีส่วนวงจรขยายสัญญาณและแปลงค่าประจุไฟฟ้าเป็นค่าแรงดันไฟฟ้า
                  ส่งผลให้ค่าความน�าไฟฟ้าจะเปลี่ยนแปลงสอดคล้องกับปริมาณเกลือโซเดียม  (Current to voltage converter) ซึ่งแรงดันไฟฟ้านี้สามารถอ่านค่าได้ด้วย
                  ในอาหาร ซึ่งการพัฒนาอุปกรณ์ที่สามารถวัดค่าความน�าไฟฟ้าไม่มีความ-         ตัวประมวลผลไมโครคอนโทรลเลอร์ ด้วยหลักการแปลงข้อมูลอนาลอกเป็นข้อมูล
                  ซับซ้อน ราคาถูก และสามารถแสดงผลการตรวจวัดได้ทันทีทันใด ปัจจุบัน   ดิจิทัล (Analog to Digital Converter; ADC) ค่าแรงดันที่อ่านได้นี้จะถูกค�านวณ
                  เครื่องวัดความเค็มในอาหารแบบพกพาที่ใช้หลักการทางอ้อมนี้มีจ�าหน่าย  ย้อนกลับหาค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขั้วแอโนดสู่ขั้วแคโทด และประเมิน
                  ทั่วไปในตลาดต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี ซึ่งเครื่องวัดเหล่านี้เหมาะส�าหรับ  หาค่าปริมาณเปอร์เซ็นต์เกลือโซเดียมในอาหาร โดยตัวประมวลผลไมโคร-
                  น�้าซุปที่มีลักษณะใส ต่างจากอาหารไทยที่มีความหลากหลายของส่วนผสม   คอนโทรลเลอร์จะส่งค่าที่ได้นี้ไปแสดงผลยังหน้าจอแบบ OLED ขนาด 128x64
                  ส่งผลให้เครื่องวัดความเค็มที่ผลิตจากต่างประเทศมีข้อจ�ากัดที่อาจไม่สามารถ  พิกเซล วงจรไฟฟ้าที่กล่าวมาข้างต้นนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ซึ่งถูกควบคุม
                  ตอบสนองกับอาหารไทยในบางประเภทได้                      แรงดันด้วยวงจรรวม
                     เครื่องวัดความเค็มในอาหาร  ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตรวจวัดระดับความเค็ม  ตัวประมวลผลไมโครคอนโทรลเลอร์นี้จะถูกฝังสมการทางคณิตศาสตร์ใน
                                        1
                  ในรูปแบบของเปอร์เซ็นต์โซเดียมคลอไรด์ (%NaCl) ในหน่วยกรัมต่อ 100   การค�านวณหาค่าเปอร์เซ็นต์เกลือโซเดียมจากค่าความน�าไฟฟ้า ดังนั้น ขั้นตอน
                  มิลลิลิตร (g/100ml) โดยมุ่งเน้นให้เครื่องสามารถวัดค่าความเค็มได้อย่าง  ที่ส�าคัญคือ การเก็บข้อมูลสร้างสมการความสัมพันธ์ดังกล่าว โดยสามารถท�าได้
                  รวดเร็ว ราคาประหยัด สามารถใช้ได้กับบุคคลทั่วไป บุคลากรทางการแพทย์  ด้วยการเตรียมสารละลายตัวอย่างที่รู้ค่า เช่น สารละลายเกลือโซเดียม 0.1%,
                  ที่ต้องวิเคราะห์ปริมาณโซเดียมในห้องปฏิบัติการหรือจุดบริการทางการแพทย์   0.3%, 0.6%, 0.9% และ 1.5% เพื่อเก็บค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านโพรบ
                  นอกจากนี้ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์จากการใช้เครื่องมือราคาสูง   ของแต่ละค่าความเข้มของสารละลายตัวอย่าง ผลการทดลองพบว่าความสัมพันธ์
                  และจากการใช้บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางได้อีกด้วย การท�างาน  ระหว่างปริมาณกระแสไฟฟ้าที่วัดได้มีความสัมพันธ์กับระดับ %เกลือโซเดียม

                                                                                                  MAY  2019 FOOD FOCUS THAILAND  53


         53-55_Scoop_Salt.indd   53                                                                                  22/4/2562 BE   17:03
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58