Page 50 - FoodFocusThailand No.159 June 2019
P. 50

SMART PRODUCTI
       SMART PRODUCTIONON

                             Bjorn Thumus
      Translated and Compiled By: กองบรรณาธิการ
                             นิตยสาร ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์
                             Editorial Team
                             Food Focus Thailand Magazine
                             editor@foodfocusthailand.com


























                     โซลูชันการคัดแยกด้วยเซ็นเซอร์




                    เพื่อช่วยให้ซูเปอร์มาร์เก็ตเอาชนะความท้าทายในอนาคต



      ในขณะที่จ�ำนวนประชำกรเพิ่มขึ้นและประสิทธิภำพมีควำมส�ำคัญมำกขึ้น ซูเปอร์มำร์เก็ตต้องเผชิญกับควำมท้ำทำยที่แตกต่ำง ซึ่ง
      ในอนำคตอันใกล้ซูปเปอร์มำร์เก็ตจะมีรูปแบบธุรกิจที่เปลี่ยนไปอย่ำงชัดเจน โดยเป็นผลมำจำกนวัตกรรมกำรติดตั้งระบบออนไลน์
      และห่วงโซ่อุปทำนในอุตสำหกรรมอำหำร เทคโนโลยีเหล่ำนี้จะถูกน�ำไปใช้ในกำรต่อสู้เพื่อให้ได้ลูกค้ำ และยิ่งไปกว่ำนั้นยังสำมำรถ
      เป็นประโยชน์ต่อโลกใบนี้อีกด้วย




         สิ่งนี้จะเกิดขึ้นได้โดยการพัฒนาอย่างยั่งยืน อันที่จริงแล้วค�านี้เป็นค�าที่ใช้  ต้องจัดการ ซึ่งก็คือ การจัดการกับอาหารเหลือทิ้ง ทั้งนี้เกือบหนึ่งในสามของ
      กันอย่างแพร่หลายมากเกินไปซึ่งอาจหมายถึงบางสิ่งในซูเปอร์มาร์เก็ตและ           อาหารทั้งหมดที่ผลิตทั่วโลกในปัจจุบันก�าลังสูญเปล่าซึ่งคิดเป็นปริมาณกว่า
      ห่วงโซ่อุปทาน การผลิตและจ�าหน่ายอาหารจะกลายเป็นความรับผิดชอบต่อ        1.3 พันล้านตันของอาหารที่เน่าเสียหรือถูกทิ้งทุกปี เป็นเรื่องน่าตกใจที่รู้ว่า
      สิ่งแวดล้อมมากขึ้น เพราะความยั่งยืนและผลก�าไรขึ้นอยู่กับการใช้ทรัพยากร  ประมาณร้อยละ 45 ของอาหารเหลือทิ้งเหล่านั้นเป็นผักและผลไม้ และ
      อย่างมีประสิทธิภาพ                                      อีกร้อยละ 20 เป็นเนื้อสัตว์ ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าเศร้ายิ่งนัก เพราะเพียงหนึ่งใน
         มีการคาดการณ์ว่าจ�านวนประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นจาก 7.6 พันล้านเป็นหนึ่ง  สี่ของอาหารที่สูญเปล่าเหล่านี้สามารถเลี้ยงผู้ที่หิวโหยต่อเนื่องได้ถึง 795
      หมื่นล้านคนภายในปี พ.ศ. 2593 โดยในปัจจุบันความต้องการอาหารมีมากกว่า  ล้านคนทั่วโลก
      อุปทานแล้วในหลายๆ พื้นที่ เพื่อแสดงให้เห็นภาพถึงการเปลี่ยนแปลงอย่าง  สิ่งนี้มีความหมายในเชิงพาณิชย์ด้วย ตามโครงการการจัดการของเสีย
      รวดเร็ว จะเห็นได้ว่าความต้องการสินค้าเกษตรในปัจจุบันได้เพิ่มขึ้นกว่า ร้อยละ 50   และทรัพยากร (WRAP) การด�าเนินการเพื่อป้องกันการสูญเสียอาหารสามารถ
      เมื่อเปรียบเทียบกับเมื่อห้าปีที่แล้ว นี่คือปัญหาตึงเครียดของทรัพยากรทางการ  ช่วยธุรกิจประหยัดได้ถึง 341 ล้านยูโรต่อปี และมีตัวชี้วัดที่ชัดเจนว่าต้อง
      เกษตรเพราะที่ดินที่พร้อมส�าหรับการเพาะปลูกอาหารนั้นมีพื้นที่จ�ากัดมาก  ซึ่ง  ด�าเนินการอย่างไร โดยประมาณร้อยละ 54 ของอาหารที่สูญเสียไปเหล่านี้
      สอดคล้องตามที่องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติระบุว่าสามารถ  สูญเสียไปในกระบวนการผลิตต้นน�้าซึ่งเป็นผลมาจากความไร้ประสิทธิภาพ
      น�าที่ดินอีกเพียงร้อยละ 20 ไปใช้ประโยชน์ได้เพิ่มขึ้น ฉะนั้นทรัพยากรที่มีอยู่จะ  ในประเทศก�าลังพัฒนาในระหว่างการเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
      ต้องถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื่อให้อาหารเพียงพอส�าหรับทุกคนและ  และการแปรรูป ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 46 สูญเสียไปในระหว่างกระบวนการ
      เพื่อให้มั่นใจว่าการจัดหาอาหารส�าหรับคนรุ่นหลังในอนาคตจะมีเพียงพอ  แปรรูป การจัดจ�าหน่าย และการบริโภคซึ่งเกิดโดยผู้บริโภคจ�านวนมากใน
         นอกเหนือจากแรงกดดันเหล่านี้แล้ว ยังมีความท้าทายอีกประการหนึ่งที่จะ  ประเทศที่พัฒนาแล้ว
                                                                 ด้วยตระหนักถึงความไร้ประสิทธิภาพเหล่านี้ ในปี พ.ศ. 2558 องค์การ
       50 FOOD FOCUS THAILAND  JUNE  2019
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55