Page 56 - FoodFocusThailand No.159 June 2019
P. 56

SEE THROUGH MARKET


         5. มีจังหวัดชายแดนของไทยมากกว่า 32 จังหวัดที่เชื่อมต่อการขนส่งโดยตรง                     ทั่วโลก ภาครัฐควรสนับสนุนให้การรถไฟแห่งประเทศไทยเข้าสู่ธุรกิจ
      กับประเทศเพื่อนบ้าน (มาเลเซีย ลาว กัมพูชา และเมียนมา) (ที่มา: BOI) ที่สามารถ                   “ไปรษณียภัณฑ์และรับส่งสินค้า” อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มการแข่งขัน
      ค้าออนไลน์กับประเทศเพื่อนบ้านได้โดยตรง                        ในธุรกิจโลจิสติกส์ ลดการผูกขาด และจะท�าให้ต้นทุนการขนส่ง
         6. องค์การการค้าโลก (WTO) ได้ผลักดันประเด็นใหม่ๆ อาทิ การเจรจาอีคอมเมิร์ซ   ลดลงอีกทางหนึ่งด้วย
      ซึ่งสมาชิกทั้ง 76 ประเทศ รวมทั้งไทย ได้ประกาศแถลงการณ์ร่วมการเริ่มเจรจาจัดท�า   4. ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบด้านการขนส่งทางน�้าที่ครอบคลุม
      ความตกลงอีคอมเมิร์ซในการประชุม Informal Meeting of Ministers on E-commerce                เกือบทุกจังหวัด ภาครัฐจึงควรเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งทางน�้า
      เมื่อเดือนมกราคม 2562 ที่ผ่านมา ณ เมืองดาวอส จะช่วยให้การค้าออนไลน์ระหว่าง  ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ยกระดับมาตรฐานท่าเรือตามล�าน�้าและชายฝั่งให้
      ประเทศมีความคล่องตัวมากขึ้น และจะช่วยสร้างความมั่นใจว่าจะไม่ถูกเอาเปรียบ  สามารถรองรับการขนส่งขนาดใหญ่ ส่งเสริมการเส้นทางเดินเรือใหม่ๆ
      ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย (ที่มา: สุนันทา กังวานกุลกิจ เอกอัครราชทูตคณะผู้แทนถาวรไทย  ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน (อาทิ เส้นทางระนอง-เจนไน
      ประจ�าองค์การการค้าโลก และองค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก ณ นครเจนีวา)   ของอินเดีย ซึ่งจะช่วยลดเวลาไม่ต้องอ้อมช่องแคบมะละกา) พัฒนา


                            “





       การขนส่งระบบรางได้เชื่อมต่อกับต่างประเทศมากยิ่งขึ้น

         อย่างไรก็ตาม การขนส่งระบบรางยังให้ความส�าคัญ

              กับสินค้าในกลุ่ม “ไปรษณียภัณฑ์ฯ” น้อย

      อาจท�าให้ไทยเสียโอกาสเจาะตลาดค้าออนไลน์ต่างประเทศ

                             ”







         7. รัฐบาลก�าลังเร่งพัฒนาการขนส่งทางน�้า โดยจะมีการพัฒนาท่าเรือโดยสาร                   ท่าเรือปากน�้าบางปะกงและปากน�้าท่าจีน เพื่อลดความแออัดของ
      ให้สามารถเชื่อมต่อการเดินทางของคนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมทั้งให้ด�าเนินการ  ท่าเรือกรุงเทพ ยกระดับท่าเรือกันตัง (จังหวัดตรัง) สู่ท่าเรือสากล เพื่อ
      ขุดลอกร่องน�้า ทั้งชายฝั่งทะเล แม่น�้า และปากอ่าวให้มีมาตรฐาน สามารถอ�านวย             ลดการพึ่งพาท่าเรือปีนัง พัฒนาท่าเรือชายฝั่งอ่าวไทย (อาทิ บริเวณ
      ความสะดวกด้านการเดินเรือได้ ล่าสุดได้มีการเปิดการเดินเรือโดยสารระหว่าง            จังหวัดสงขลา) เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อด้วยแลนด์บริดจ์ทั้งถนนและ
      กรุงเทพฯ-นครปฐม ในคลองมหาสวัสดิ์แล้ว และจะได้พัฒนาเป็นเส้นทางขนส่งสินค้า  ระบบรางสู่ท่าเรือกันตังและและระนองฝั่งทะเลอันดามัน ซึ่งจะท�าให้
      อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป                                         ไทยเชื่อมต่อมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิกเข้าด้วยกัน อันจะเป็น
                                                                    แต้มต่อให้ไทยดึงดูดการลงทุน โดยเฉพาะจากจีนที่มีเส้นทางรถไฟ
      อุปสรรค                                                       ความเร็วสูงมาเชื่อมต่อในประเทศไทย ขยายท่าเทียบเรือในท่าเรือ
         1. การขนส่งทางน�้ายังขาดการจัดการที่ดี ท�าให้ไม่เป็นที่นิยมในด้านโลจิสติกส์  หลัก (อาทิ ท่าเรือกรุงเทพ แหลมฉบัง และมาบตาพุด) ขุดร่องน�้าเพิ่ม
         2. SMEs ยังเสียเปรียบด้านโลจิสติกส์ ท�าให้เสียโอกาสทางการแข่งขัน   เพื่อให้ขนส่งสินค้าทางเรือขนาดใหญ่ได้ตลอดปี (อาทิ ร่องน�้าท่าจีน
         3. ขณะที่การขนส่งระบบรางได้เชื่อมต่อกับต่างประเทศมากยิ่งขึ้น การขนส่ง              ร่องน�้าแม่กลอง ร่องน�้าสงขลา ร่องน�้าบางปะกง ร่องน�้าบ้านดอน
      ระบบรางยังให้ความส�าคัญกับสินค้าในกลุ่ม “ไปรษณียภัณฑ์ฯ” น้อย อาจท�าให้ไทย           ร่องน�้าภูเก็ต ร่องน�้าระนอง และร่องน�้ากันตัง) นอกจากนั้น ควรมีการปรับ
      เสียโอกาสเจาะตลาดค้าออนไลน์ต่างประเทศ                         ระเบียบที่จูงใจ อาทิ การอนุญาตให้ผู้ส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ

      แนวทางการปรับตัว                                              สามารถใช้ตู้คอนเทนเนอร์ขนส่งสินค้าในประเทศได้ด้วย เพื่อลดภาระ
         1. ภาครัฐอาจพิจารณาสนับสนุน SMEs ในงานด้านโลจิสติกส์ เช่น การใช้ร้านค้า  ต้นทุน จากเดิมที่ต้องวิ่งคอนเทนเนอร์เปล่าเพื่อไปรับสินค้ามาส่งต่อ
      ประชารัฐที่มีเครือข่ายอยู่ทั่วประเทศเป็นศูนย์กระจายสินค้าการค้าออนไลน์ของ SMEs   ที่ท่าเรือเท่านั้น ไม่สามารถน�าตู้คอนเทนเนอร์ไปใช้เพื่อประโยชน์อื่น
      อาทิ สั่งของออนไลน์แต่รับของได้ที่ร้านค้าประชารัฐใกล้บ้าน เป็นต้น  5. การสร้างพันธมิตรจ�าเป็นอย่างยิ่งต่อการค้าออนไลน์ข้ามแดน
         2. ในระยะยาว ภาครัฐอาจจัดตั้งร้านค้าประชารัฐ ณ จังหวัดชายแดนฝั่งประเทศ-   ดังนั้น ส�านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวง-
      เพื่อนบ้าน เพื่ออ�านวยความสะดวกในการผลักดันการค้าออนไลน์สู่ประเทศเพื่อนบ้าน  พาณิชย์ จึงได้ด�าเนินโครงการหุ้นส่วนยุทธศาสตร์การค้าสินค้า
         3. เนื่องจากการขนส่งระบบรางมีการพัฒนาไปมาก ทั้งการเชื่อมเส้นทางทั่วไทยและ  อุตสาหกรรม 4.0 จาก CLMVT สู่สากล จะมีส่วนส�าคัญส่วนหนึ่งใน
                                                                    การพัฒนาการค้าออนไลน์กับประเทศ CLMV ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
       56 56  FOOD FOCUS THAILAND  JUNE  201919
          FOOD FOCUS THAILAND JUNE  20
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61