Page 60 - FoodFocusThailand No.159 June 2019
P. 60
STRONG QC & QAQA
STRONG QC &
เป็นที่ทราบกันดีว่าอาหารคือหนึ่งในปัจจัยหลัก
ที่มนุษย์ใช้ในการด�ารงชีพ เมื่อมีจ�านวนประชากร
มนุษย์เพิ่มมากขึ้นจึงส่งผลให้เกิดความต้องการ
อาหารมากขึ้น ดังนั้น การผลิตเพื่อรองรับความ
ต้องการดังกล่าวจึงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย อย่างไร
ก็ตาม การผลิตที่มีปริมาณและจ�านวนมากขึ้น
ย่อมมีโอกาสเกิดความผิดพลาดมากขึ้นเช่นกัน
จึงท�าให้ต้องมีมาตรฐานเข้ามาควบคุมทั้งด้าน
คุณภาพ และความปลอดภัยของอาหาร ตั้งแต่
ระดับมาตรฐานอาหารทั่วไป ไปจนถึงมาตรฐาน
อาหารระดับสากล ทั้งอยู่ในรูปแบบภาคบังคับ หรือ
ภาคความสมัครใจของแต่ละโรงงานอาหาร
เสฏฐวุฒิ ยอดนันทพัฒน์
Settawoot Yoodnunthaphat
Client Manager, Operations - Food Division
British Standards Institution (BSI)
settawoot.yoodnunthaphat@bsigroup.com
มาตรฐานอาหารทั่วไปและระดับสากล
ส�ำหรับอุตสำหกรรมอำหำร
มาตรฐานอาหารทั่วไป (General Food Standard) มาตรฐาน 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 349 พ.ศ. 2555) เรื่อง วิธีการผลิต
1อาหารทั่วไปที่มีการประยุกต์ใช้ตั้งแต่โรงงานขนาดเล็กไปจนถึงโรงงาน เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
ขนาดใหญ่ที่พร้อมทั้งทางด้านเงินทุน และทรัพยากรสิ่งอ�านวยความสะดวกต่างๆ ชนิดที่มีความเป็นกรดต�่าและชนิดที่ปรับกรด หรือที่รู้จักกันคือ Low-acid
ได้แก่ canned food: LACF/Acidified Food GMP ซึ่งประกอบไปด้วยข้อก�าหนด
• มาตรฐานการผลิตอาหารและสุขลักษณะที่ดีของสถานที่ผลิต หลักทั้งหมด 7 ข้อ
(GMP) ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ประเทศไทย ได้ก�าหนด 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 386 พ.ศ. 2560) เรื่อง ก�าหนด
หลักเกณฑ์วิธีการ สถานที่การผลิต มาบังคับใช้เป็นกฎหมายกับผลิตภัณฑ์อาหาร วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาผัก หรือ
ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม 2546 โดยแบ่งออกตามประกาศกลุ่ม หรือประเภท ผลไม้สดบางชนิด และการแสดงฉลาก ซึ่งประกอบไปด้วยข้อก�าหนดหลัก
ผลิตภัณฑ์ ดังนี้ ทั้งหมด 6 ข้อ
1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 342) พ.ศ. 2555 เรื่อง วิธีการผลิต • มาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (GMP
เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะ Codex) และระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมใน
พร้อมจ�าหน่าย หรือที่รู้จักกันคือ Primary GMP ซึ่งประกอบไปด้วยข้อก�าหนด การผลิตอาหาร (HACCP) คณะกรรมมาธิการร่างมาตรฐานผลิตภัณฑ์
หลักทั้งหมด 6 ข้อ อาหารระหว่างประเทศ (Codex Alimentarius Commission; Codex) ร่วมกับ
2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 220) พ.ศ. 2544 เรื่อง น�้าบริโภค องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture
ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ซึ่งประกอบไปด้วยข้อก�าหนดหลักทั้งหมด 9 ข้อ Organization; FAO) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization;
3. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 298 พ.ศ. 2549) เรื่อง วิธีการผลิต WHO) ได้ร่วมร่างมาตรฐานดังกล่าวซึ่ง ณ ปัจจุบันเป็น Version Rev 4-2003
เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์นมพร้อมบริโภคชนิด โดยมาตรฐานประกอบไปด้วยข้อก�าหนดทางด้าน GMP 10 ข้อ และ HACCP
เหลวที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยวิธีพาสเจอร์ไรส์ ซึ่งประกอบไปด้วย แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน กับ 7 หลักการ รวมเป็น 12 ข้อ มาตรฐานดังกล่าวจัดเป็น
ข้อก�าหนดหลักทั้งหมด 7 ข้อ มาตรฐานขั้นพื้นฐานที่องค์กรใดซึ่งอยู่ภายใต้ห่วงโซ่อาหารและมีความจ�าเป็น
60 FOOD FOCUS THAILAND JUNE 2019