Page 58 - FoodFocusThailand No.162 September 2019
P. 58

STRATEGIC R & DD
       STRATEGIC R &

                  หทัยภัทร ธีรศรัณย์
                  Hathaiphat Terasarun
                  Researcher
                  Yamamori R&D Center, Yamamori Trading Co., Ltd.
                  hathaiphat@yamamoritrading.com
































        การประเมินทางประสาทสัมผัส




        เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพ



        อาหารเป็นหนึ่งในความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ โดยทั่วไปขณะที่เรารับประทานอาหารก็จะมีการประเมินและติชมอาหารนั้น
        ถึงแม้เราจะไม่รู้จักหลักการ “การประเมินทางประสาทสัมผัส (Sensory evaluation)” ที่ใช้อย่างแพร่หลายในทางวิทยาศาสตร์
        ก็ตาม การบอกสิ่งที่ชอบและไม่ชอบนี้ถือเป็นหนึ่งในการประเมินทางประสาทสัมผัสเช่นกัน ในบางครั้งคนเรายังอธิบายลักษณะ
        ของอาหารและวัตถุผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้าของมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วย การมองเห็น การได้กลิ่น การชิมรส การสัมผัส และ
        การได้ยิน ซึ่งเป็นการใช้โดยไม่รู้ตัว และหากยิ่งมีสิ่งกระตุ้นที่รุนแรงผ่านการรับรู้จากประสาทสัมผัสทั้งห้า ก็ยิ่งส่งผลให้การรับรู้

        เปลี่ยนแปลง ความรู้สึกรับรู้ปลี่ยนแปลงไปด้วย




           ในอุตสาหกรรมอาหารการประเมินทางประสาทสัมผัสถูกใช้และพัฒนา   ส�าหรับฝ่ายควบคุมคุณภาพ การประเมินทางประสาทสัมผัสเป็นเครื่องมือ
        มาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายพัฒนา  ที่ส�าคัญที่ใช้ในการควบคุมความคงที่ของคุณภาพสินค้า โดยคนในสายงาน
        ผลิตภัณฑ์ และฝ่ายการตลาด โดยทั้ง 3 ฝ่ายน�าการประเมินทางประสาทสัมผัส  ควบคุมคุณภาพจะต้องได้รับการฝึกอบรมเพื่อจ�าแนกรสชาติและกลิ่นที่ผิดปกติ
        มาใช้ในวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน อย่างไรก็ตาม การควบคุมปัจจัยที่ส่งผลต่อ        ของทั้งวัตถุดิบและสินค้าไปจนถึงการเตรียมตัวอย่างมาตรฐานและการก�าหนด
        ความน่าเชื่อถือของผลการประเมิน ประกอบด้วย 3 ปัจจัย  ดังนี้   ช่วงที่ยอมรับได้ของตัวอย่างแต่ละชนิด แต่ทั้งนี้มีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อ
                                             1
           1. การควบคุมการทดสอบ - สภาพแวดล้อมของห้องที่ใช้ทดสอบ   คุณลักษณะของวัตถุดิบและการรับรู้จากประสาทสัมผัสของมนุษย์ เช่น
        ลักษณะโต๊ะ แสงไฟ การถ่ายเทอากาศภายในห้อง พื้นที่จัดเตรียม ทางเข้า-ออก  อุณหภูมิ ความชื้น ความเป็นกรด-ด่าง เป็นต้น การน�าข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
           2. การควบคุมตัวอย่าง - อุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการคัดเลือก การเตรียม                   มาประกอบการประเมินจะลดความคลาดเคลื่อนลงได้ ยกตัวอย่างเช่น
        การตั้งชื่อ และการเสิร์ฟตัวอย่าง                      การก�าหนดช่วงค่าเปอร์ออกไซด์ที่ยอมรับได้ เพื่อใช้ประเมินความหืนของสินค้า
           3. การควบคุมผู้ชิม – วิธีการประเมินตัวอย่างของผู้ชิม  ที่มีไขมันชนิดไม่อิ่มตัวเป็นส่วนประกอบ


       58  FOOD FOCUS THAILAND  SEP   2019
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63