Page 62 - FoodFocusThailand No.162 September 2019
P. 62

SOMETHING ABOUT FOODING ABOUT FOOD
       SOMETH















                                                                              ค่าดัชนี



                                                                  น�้ำตำล







                                                                      ในอาหาร














        คาร์โบไฮเดรตจัดเป็นแหล่งให้พลังงานที่ส�าคัญกับมนุษย์ โดย         ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภัสรพี เหลืองสกุล

        แป้งและสตาร์ชจัดว่าเป็นคาร์โบไฮเดรตชนิดหนึ่ง  ซึ่งเมื่อ               Assistant Professor Naphatrapi Luangsakul, Ph.D.
        รับประทานเข้าไปในร่างกาย ระบบการย่อยอาหารของร่างกาย
        จะย่อยสตาร์ชกลายเป็นน�้าตาลกลูโคสอยู่ในกระแสเลือด                อรวรา ฤทธิ์อุดมพล
                                                                         Onvara Ritudomphol
        การรับประทานอาหารจ�าพวกแป้งหรือสตาร์ชในปริมาณมาก                 Faculty of Agro-Industry

        อาจส่งผลให้ระดับน�้าตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และ       King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang
                                                                         naphatrapi.lu@kmitl.ac.th
        อาจเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Diabetes
        type 2)



           ค่าดัชนีน�้าตาล (Glycemic Index; GI) เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพ  โดยทั่วไปมีการแบ่งกลุ่มอาหารจ�าพวกคาร์โบไฮเดรตตามค่าดัชนีน�้าตาล
        ของอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต ซึ่งหลังจากรับประทานอาหาร  ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ อาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลสูง (GI ≥ 70) เช่น ขนมปังขาว
        ประเภทคาร์โบไฮเดรตและเข้าสู่ระบบย่อยอาหารของร่างกาย อาหาร  มันฝรั่งทอด ไอศกรีม เป็นต้น อาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลปานกลาง (GI = 56-69) เช่น
        ชนิดนั้นสามารถเพิ่มระดับน�้าตาลในเลือดได้มากหรือน้อย                 ข้าวกล้อง อาหารประเภทเส้น ข้าวโพดคั่ว เป็นต้น และอาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลต�่า
        เปรียบเทียบกับตัวอย่างมาตรฐาน ได้แก่ กลูโคส หรือขนมปังขาว   (GI ≤ 55) เช่น อาหารที่มีเส้นใยสูง ผัก ถั่วชนิดต่างๆ เป็นต้น Nanri และ Mizoue
        (Jenkins และคณะ 1981) โดยอาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลสูง หมายถึง   (2014) รายงานว่าการบริโภคอาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลสูงจะท�าให้เกิดความเสี่ยง
        อาหารที่ถูกย่อยโดยเอนไซม์ในระบบย่อยอาหารมนุษย์ได้ง่ายและ  ต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคอ้วน ส่วนอาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลต�่า
        รวดเร็ว ส่งผลให้มีการเพิ่มระดับน�้าตาลในกระแสเลือดอย่างรวดเร็ว   สามารถช่วยควบคุมระดับน�้าตาลในเลือด และกระตุ้นการท�างานของฮอร์โมนอินซูลิน
        ในขณะที่อาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลต�่าจะเป็นอาหารที่ย่อยได้ช้า             ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการเลือกบริโภคอาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลต�่าในปริมาณ
        ส่งผลให้ระดับน�้าตาลในกระแสเลือดเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ และสม�่าเสมอ   ที่เหมาะสมจึงส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคเบาหวานและลดความเสี่ยงต่อ
        อาหารที่มีค่าดัชนีน�้าตาลต�่าเป็นอาหารที่ให้พลังงานเท่าเดิม                    การเป็นโรคอ้วนได้
        ไม่ได้เป็นอาหารที่ลดพลังงาน

       62  FOOD FOCUS THAILAND  SEP   2019
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67