Page 44 - FoodFocusThailand No.163 October 2019
P. 44
STRATEGIC R&D
STRATEGIC R&D
ดร.สุดาทิพย์ แซ่ตั้น
Sudathip Sae-tan, Ph.D.
Department of Food Science and Technology
Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University
fagists@ku.ac.th
โภชนาการเฉพาะบุคคล
“การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ” วลีนี้เป็นวลีที่เชื่อว่าทุกคนเคยได้ยินกัน เพราะการมีสุขภาพที่ดีเป็นเป้าหมายหนึ่งของทุกคน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน ปัญหาด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังส่วนมาก
มีสาเหตุหลักมาจากอาหารและการออกก�าลังกาย ท�าให้ปัจจุบันนี้ทุกคนให้ความสนใจกับเรื่องของอาหารเป็นส่วนมาก โดยทุกคน
จะมองหาอาหารที่ถูกออกแบบหรือถูกกล่าวอ้างว่ามีประโยชน์กับร่างกาย ช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กับร่างกาย เพิ่มประสิทธิภาพ
ในการท�างานของร่างกาย หรือช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคต่างๆ
จากความต้องการของผู้บริโภคและแนวโน้มของการเป็นโรคต่างๆ สูงขึ้น การศึกษาแบบนิวทริจีโนมิกส์ คือ การศึกษาว่าอาหารหรือองค์ประกอบของ
ท�าให้การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของอาหารที่มีสมบัติเชิงหน้าที่ อาหารใดอาหารหนึ่งมีผลต่อการแสดงออกของยีน โปรตีน และเมทาบอไลท์
หรือที่เรียกว่า Functional ingredients เกิดขึ้นมากมาย อาหารมากมายหลาย อย่างไร
ชนิดถูกกล่าวว่าสามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคต่างๆ ได้ แต่เราก็ยัง ในขณะที่การศึกษาแบบนิวทริจีนีติกส์ คือ การศึกษาถึงความสัมพันธ์ของ
ไม่สามารถระบุได้ว่าอาหารใดหรือส่วนประกอบของอาหารใดเป็นอาหารที่ดี การแสดงออกของลักษณะทางกายภาพที่แตกต่างกัน เช่น น�้าหนัก ความดัน
ที่สุด ที่จะมีประสิทธิภาพกับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกสภาวะร่างกาย หรือที่เรียก โลหิต ระดับคอเลสเตอรอล หรือระดับน�้าตาลในเลือด กับการได้รับอาหาร
ว่า One-size-fits-all approach เพราะไม่อย่างนั้นเราคงจะไม่มีคนที่เจ็บป่วย บางประเภท เช่น อาหารไขมันต�่า อาหารเมดิเตอร์เรเนียน ว่าขึ้นกับจีโนไทป์ใด
หรือมีสุขภาพไม่ดี นอกจากนั้น ผลการศึกษาจากงานวิจัยต่างๆ ที่ท�าขึ้น ของแต่ละบุคคล หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ นิวทริจีนีติกส์ คือ การศึกษาว่าจีโนไทป์
มากมายจะพบว่ามีความขัดแย้งกัน หรือแม้แต่ในงานวิจัยเดียวกัน ก็พบว่า ที่แตกต่างกันของแต่ละคนท�าให้แต่ละคนตอบสนองต่ออาหารที่เหมือนกัน
อาหารชนิดเดียวกันก็ให้ผลที่แตกต่างกันในแต่ละคน อย่างไร ถึงแม้ว่าแต่ละคนจะมีจีโนมที่ค่อนข้างเหมือนกัน แต่ว่ามีรายงานว่า
ประเด็นความขัดแย้งของการศึกษาที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลให้มีนักวิจัยมากมาย มีมากกว่า 10 ล้าน Single Nucleotide Polymorphisms (SNPs) ที่อยู่ใน
ต้องการหาค�าตอบเพื่ออธิบายความแตกต่างที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล ร้อยละ 1 ของคนทั้งหมด และมี SNPs เพียงส่วนน้อยที่ถูกค้นพบหน้าที่ดังนั้น
จากการศึกษาด้านโภชนาการแบบเดิมที่เป็นการศึกษาว่าคนเราควรได้รับ การศึกษาด้านนิวทริจีนีติกส์จึงเป็นการศึกษาเพื่อค้นหาว่าการมี SNPs
สารอาหารใดเพื่อรักษาร่างกายให้แข็งแรงในเชิงประชากรขนาดใหญ่ก็เปลี่ยน ที่แตกต่างกันของแต่ละคนส่งผลให้แต่ละคนมีการตอบสนองอาหารที่แตกต่างกัน
ไปเป็นการศึกษาในรูปแบบของนิวทริจีโนมิกส์และนิวทริจีนีติกส์ อย่างไร ไม่ว่าจะเป็นการตอบสนองด้านการผลิตเมทาบอไลท์ ความต้องการ
สารอาหาร และความเสี่ยงในการเป็นโรคต่างๆ
44 FOOD FOCUS THAILAND OCT 2019
44-47_Stratregic_R&D_Sudathip.indd 44 24/9/2562 BE 11:42