Page 45 - FoodFocusThailand No.163 October 2019
P. 45
STRATEGIC R&D
ข้อมูลจากการศึกษาด้านนิวทริจีโนมิกส์และนิวทริ- ดังนั้น โภชนาการเฉพาะบุคคลจึงเป็นประเด็นทางด้านงานวิจัยอาหารและสุขภาพที่น่าจับตามอง
จีนีติกส์ ท�าให้เห็นว่าพันธุกรรม อาหาร สภาพแวดล้อม และจ�าเป็นต้องได้รับการพิสูจน์อย่างมีหลักการ โดยเฉพาะจากสองส่วนที่ส�าคัญ คือ การศึกษาทาง
และลักษณะทางกายภาพที่แสดงออกมานั้นมีความ- คลินิกที่ต้องเป็นแบบสุ่มแบบควบคุม โดยมีการคัดเลือกผู้เข้าร่วมการทดสอบตามจีโนไทป์ที่สนใจ
สัมพันธ์กันอย่างมาก ข้อมูลเหล่านี้น�ามาซึ่งแนวคิดของ และต้องมีการศึกษาร่วมกับนักวิจัยด้านอื่น เช่น จิตวิทยาพฤติกรรม วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
โภชนาการเฉพาะบุคคล (Personalized nutrition) ซึ่ง นักชีวการแพทย์ และนักโภชนาการ และการศึกษาด้าน “โอมิกส์” ซึ่งจะให้ข้อมูลกลไกต่างๆ ได้ดีขึ้น
เป็นการออกแบบโภชนาการส�าหรับแต่ละบุคคลเพื่อ เช่น งานด้านอีพิจีโนมิกส์ เมทาบอโลมิกส์ และไมโครไบโอมิกส์
ตอบสนองต่อความแตกต่างของแต่ละบุคคลให้มากที่สุด ทั้งนี้ โภชนาการเฉพาะบุคคลเพียงอย่างเดียวคงจะไม่สามารถลดความเสี่ยงในการเป็นโรคต่างๆ
ปัจจุบันนี้โภชนาการเฉพาะบุคคลได้รับความสนใจอย่าง หรือช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายได้อย่างสมบูรณ์แบบ แต่ต้องอาศัยองค์ประกอบอื่นๆ
มาก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและจัดการโรคเรื้อรัง ร่วมด้วย เนื่องจากร่างกายของมนุษย์เป็นสิ่งที่ซับซ้อน
ด้วยการก�าหนดโภชนาการหรือค�าแนะน�าด้านโภชนาการ
ตามข้อมูลของแต่ละบุคคล ไม่ว่าจะเป็นด้านพันธุกรรม
ระบบเมทาบอลิซึม จุลินทรีย์ในร่างกาย และสิ่งแวดล้อม
จุดแข็งของโภชนาการเฉพาะบุคคล
• ความแตกต่างของแต่ละบุคคลที่มีต่อการตอบสนอง
ต่อการรับประทานอาหารนั้นพบได้อยู่ทั่วไป
• งานวิจัยบางชิ้นพบว่าโภชนาการเฉพาะบุคคล
ท�าให้เกิดการพัฒนาด้านสุขภาพที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับการใช้
โภชนาการแบบทั่วไป
• การออกแบบโดยเฉพาะบุคคลอาจช่วยท�าให้
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมยั่งยืนมากขึ้น
• โภชนาการเฉพาะบุคคลหรือการออกแบบยาส�าหรับ
แต่ละบุคคลส่งผลให้มีการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
ซึ่งจะช่วยเป็นฐานข้อมูลสนับสนุนส�าหรับพัฒนาปรับปรุง
การออกแบบโภชนาการเฉพาะบุคคลให้มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น และยังสามารถส่งผลต่อสุขภาวะของบุคคล
ในเชิงประชากรได้ดีขึ้น
จุดด้อยของโภชนาการเฉพาะบุคคล
• หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการ
เฉพาะบุคคล ส่วนมากมาจากการศึกษาแบบสังเกต
ซึ่งท�าซ�้าได้น้อยมาก เมื่อเทียบกับการศึกษาทางคลินิก
แบบสุ่มควบคุม
• ทฤษฎีด้านการออกแบบโภชนาการเฉพาะบุคคล
ยังมีน้อยอยู่
• ความคงอยู่และการสืบทอดของปัจจัยที่ส่งผลให้
แต่ละบุคคลตอบสนองต่ออาหารที่รับประทานแตกต่างกัน
ยังไม่มีการศึกษาที่แน่ชัด
• มีการศึกษาทางคลินิกแบบสุ่มควบคุมที่ถูกออกแบบ
มาอย่างดีเพื่อศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัย
ของโภชนาการเฉพาะบุคคลยังน้อยอยู่
• โภชนาการเฉพาะบุคคลที่ใช้ทางการค้าใน
ปัจจุบันส่วนมากจะใช้ข้อมูลจากการทดสอบกับผู้บริโภค
โดยตรงซึ่งไม่ถูกควบคุมและไม่มีหลักฐานตีพิมพ์
ที่แน่นอน
OCT 2019 FOOD FOCUS THAILAND 45
44-47_Stratregic_R&D_Sudathip.indd 45 23/9/2562 BE 16:01