Page 42 - FoodFocusThailand No.165 December 2019
P. 42

SAFETY ALERT
            SAFETY ALERT

                        ศาสตราจารย์ ดร.อลิสา วังใน
                        ภาควิชาชีวเคมี
                        คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                        Professor Alisa Vangnai, Ph.D.
                        Department of Biochemistry
                        Faculty of Science, Chulalongkorn University
                        alisa.v@chula.ac.th

























              ภัยใกล้ตัวจากยาฆ่าแมลงบนผักผลไม้:



              ป้องกันอย่างไร?






              สารปราบศัตรูพืชแบ่งเป็นกลุ่มหลักตามชนิดศัตรูพืชที่สารเหล่านี้ออกฤทธิ์ควบคุม ได้แก่ สารป้องกันก�าจัดวัชพืช สารก�าจัด
              แมลงศัตรูพืช (สารเคมีเหล่านี้ไม่ได้เป็นยา แต่เรียกกันว่า “ยาฆ่าแมลง”) สารป้องกันและก�าจัดเชื้อราและโรคพืช และสารก�าจัด

              หนูและสัตว์แทะ  (EPA,  2019)  สารเคมีเหล่านี้ถูกสังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมและลดปัญหาของศัตรูพืช
              ในการเกษตรกรรม ส่งผลให้พืชหลักที่เพาะปลูกมีผลผลิตเพิ่มขึ้นและมีคุณภาพที่ดี (Aktar et al., 2009)



                 ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีการใช้สารปราบศัตรูพืชเหล่านี้  อย่างถูกวิธีหลังการใช้ ส�าหรับผู้บริโภคสามารถท�าได้โดยการล้างผักผลไม้ก่อน
              เช่นเดียวกันกับประเทศต่างๆ ในโลก รายงานปริมาณการน�าเข้าของสาร  รับประทานทุกครั้ง
              เหล่านี้ของไทยในช่วงปี พ.ศ.2550-2559 เป็นสารป้องกันก�าจัดวัชพืช
              ร้อยละ 62-79 สารก�าจัดแมลงศัตรูพืชร้อยละ 10-23 และสารป้องกันและ วิธีการชะล้างยาฆ่าแมลงที่ตกค้าง
              ก�าจัดเชื้อราและโรคพืชร้อยละ 5-11 (กรมควบคุมมลพิษ, 2560) ถึงแม้ว่า  รายงานขององค์กรต่างๆ ในประเทศไทยชี้ให้เห็นว่ามีการตรวจพบการตกค้างของ
              สารเหล่านี้จะมีประโยชน์ต่อการเกษตรกรรม แต่มีรายงานว่าสารเหล่านี้  สารปราบศัตรูพืชกลุ่มต่างๆ บนผักผลไม้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาฆ่าแมลงกลุ่ม
              อาจส่งผลเป็นอันตรายต่อมนุษย์อย่างเฉียบพลันหากได้รับในปริมาณมาก  ออร์กาโนฟอสเฟต กลุ่มคาร์บาเมต เป็นต้น (Panuwet et al., 2012) เนื่องจาก
              และ/หรือ เป็นพิษสะสมเรื้อรัง หากได้รับสารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง             สารเหล่านี้ถูกใช้เพื่อป้องกันแมลงศัตรูพืชระหว่างการเพาะปลูกและเพื่อรักษา
              นอกจากนี้ การตกค้างของสารเหล่านี้ในสิ่งแวดล้อมส่งผลเป็นอันตราย     คุณภาพผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การบริโภคผักผลไม้ที่มียาฆ่าแมลงตกค้างอยู่นั้น
              ต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตต่างๆ และส่งผลเสียต่อความสมดุลของระบบนิเวศ          ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงอันตรายของผู้บริโภค ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียทางด้านการ-
              อีกด้วย (Bassil et al., 2007; Burns et al., 2013; Sanborn et al., 2007;  รักษาพยาบาลของประเทศมากกว่าสิบล้านบาทต่อปี (ข้อมูลจากส�านักงานหลัก-
              Tawatsin et al., 2015) การป้องกันภาวะเสี่ยงจากอันตรายของสาร              ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)) ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันภาวะเสี่ยงนี้ มีข้อแนะน�า
              เหล่านี้ ส�าหรับเกษตรกรและผู้ที่ท�างานโดยตรงกับสารปราบศัตรูพืช  การชะล้างเพื่อลดปริมาณยาฆ่าแมลงตกค้างบนผลผลิตทางการเกษตรหลายวิธี
              สามารถท�าได้โดยการใช้อย่างถูกวิธี ไม่สัมผัสโดยตรงกับสาร สวมเสื้อผ้า  ตัวอย่างข้อแนะน�าการล้างผักผลไม้จากส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา
              มิดชิดและสวมอุปกรณ์ป้องกันระหว่างใช้สาร รวมทั้งชะล้างร่างกาย            กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ การใช้โซเดียมไบคาร์บอเนต (ผงฟูหรือเบกกิ้งโซดา)

             42 FOOD FOCUS THAILAND  DEC   2019


         42-45_Safety Alert_Pesticife.indd   42                                                                     20/11/2562 BE   17:51
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47